Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45256
Title: | การพัฒนาระบบเฝ้าระวังรังสีแกมมาผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่น |
Other Titles: | Development of a gamma radiation monitoring system via local area computer network |
Authors: | ปิยนุช เนตรคุณ |
Advisors: | อรรถพร ภัทรสุมันต์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Attaporn.P@chula.ac.th |
Subjects: | การแผ่รังสี -- การวัด รังสีแกมมา -- การวัด เครือข่ายเฉพาะที่ Radiation -- Measurement Gamma rays -- Measurement Local area networks (Computer networks) |
Issue Date: | 2554 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ได้พัฒนาระบบเฝ้าระวังรังสีแกมมาผ่านเครือข่ายท้องถิ่น โดยใช้ระบบตรวจวัดรังสีแกมมาที่ควบคุมการทำงานด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ ระบบนี้ประกอบด้วยสถานีลูกข่ายและสถานีแม่ข่ายสำหรับสำหรับตรวจวัดรังสีแกมมา โดยสถานีลูกข่ายฯ จะทำหน้าที่ตรวจวัด และส่งข้อมูลการตรวจวัดรังสีแกมมาไปยังสถานีแม่ข่ายฯ เมื่อมีคำสั่งจากสถานีแม่ข่ายฯ ส่วนสถานีแม่ข่ายฯ จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการควบคุมการทำงานของสถานีลูกข่ายฯ รับข้อมูลการวัดรังสีแกมมาจากลูกข่าย จัดเก็บผลการวัดในฐานข้อมูลและแสดงผลการวัดรังสีแกมมาของสถานีลูกข่ายฯในรูปเว็บเพจ ผลการทดสอบพบว่า ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถแสดงผลการตรวจวัดปริมาณรังสีแกมมาผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นได้อย่างถูกต้อง โดยมีความแตกต่างจากค่ามาตรฐานไม่เกิน ±10% ระบบยังสามารถเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลและแสดงผลในรูปเว็บเพจได้ อีกทั้งยังสามารถเพิ่มจำนวนสถานีลูกข่ายได้ตามต้องการ |
Other Abstract: | A gamma radiation monitoring system via local area network was developed using a microcontroller-controlled gamma-ray measurement system. This system consisted of sub and central gamma-ray measurement stations. The substation measured and displayed gamma-ray level when requested by the central station. The central station functioned as the control unit for controlling the substation, receiving data, recording and reporting all measurement data on the web page. From performance testing of the developed system, it was found that the system could measure the gamma-ray level correctly with the deviation from standard value less of than ±10%. The system could record data on the database and display all data on the web page. The number of substations of the developed system could be increased as needed. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิวเคลียร์เทคโนโลยี |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45256 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.789 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.789 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Piyanooch_ne.pdf | 3.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.