Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45724
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยง ภู่วรวรรณen_US
dc.contributor.advisorสัญชัย พยุงภรen_US
dc.contributor.authorฑิฆัมพร พุ่มผลทรัพย์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:04:46Z
dc.date.available2015-09-17T04:04:46Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45724
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractเชื้อฮิวแมนโนโรไวรัสเป็นไวรัสที่สำคัญชนิดหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารทั่วโลก โดยการเกิด recombination ของเชื้อไวรัสนั้นเป็นประโยชน์ต่อการหลบหนีจากระบบภูมิคุ้มกันของเซลล์เจ้าบ้าน และยังเป็นกลไกสำคัญต่อวิวัฒนาการของไวรัสเพื่อให้ได้เชื้อไวรัสในสายพันธุ์ใหม่อีกด้วย แต่ข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับการเกิด recombination ในประเทศไทยนั้นยังพบอยู่น้อย ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ จึงทำการตรวจสอบและจัดจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อฮิวแมนโนโรไวรัสที่มีการเกิด recombination ตั้งแต่ ค.ศ. 2009-2014 ในประเทศไทย จากตัวอย่างอุจจาระของผู้ป่วยที่มีอาการทางระบบทางเดินอาหารอักเสบเฉียบพลัน จากตัวอย่างที่ให้ผลบวกต่อการติดเชื้อฮิวแมนโนโรไวรัสทั้งหมด 150 ตัวอย่าง พบว่า จำนวน 104 ตัวอย่างที่สามารถทำการระบุจีโนไทป์จากการเพิ่มจำนวนยีน VP1 ด้วยเทคนิค RT-PCR โดยพบว่า มีทั้งสิ้น 12 จีโนไทป์ คือ GII.1, GII.2, GII.3, GII.4, GII.5, GII.6, GII.7, GII.12, GII.13, GII.14, GII.17 และ GII.21 โดยที่สายพันธุ์ GII.4 เป็นสายพันธุ์ที่พบการระบาดมากที่สุด (67/104, 64.4 %) การวิเคราะห์ข้อมูลจาก Phylogenetic และ Simplot พบการเกิด recombination จากตัวอย่างที่ทำการศึกษาทั้งหมด 7 ตัวอย่าง คือ สายพันธุ์ GII.21/GII.3 จำนวน 3 ตัวอย่าง, GII.12/GII.3 จำนวน 2 ตัวอย่าง และ GII.12/GII.1 จำนวน 2 ตัวอย่าง เมื่อทำการยืนยันว่าตัวอย่างที่พบเป็น recombination ที่แท้จริง ด้วยการวิเคราะห์ค่าทางสถิติ Maximum x 2 พบว่า ทั้ง 7 ตัวอย่างมีจุดตัดของการเกิด recombination ใกล้เคียงกับบริเวณที่ทับซ้อนกันของ ORF1/ORF2 (p < 0.001) โดยอยู่บริเวณปลาย C ของยีน RdRp และภายในปลาย N ของยีน VP1 ซึ่งเป็นจุดที่มักจะพบการเกิด recombination ได้บ่อยที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeNorovirus (NoV) is the most important cause of nonbacterial acute gastroenteritis worldwide. Recombinations allow for increased fitness or escape from humoral immunity, and the emergence of new norovirus strains. In Thailand, there is a lack of data on NoV recombinants among clinical isolates. In this study, we screened stool samples from pediatric diarrheal patients for norovirus and characterized recombinant NoV strains present in Thailand, 2009-2014. From 150 NoV-positive specimens, 104 samples were successfully genotyped by RT-PCR for the VP1 region and twelve different genotypes were identified: GII.1, GII.2, GII.3, GII.4, GII.5, GII.6, GII.7, GII.12, GII.13, GII.14, GII.17 and GII.21, of which GII.4 was the most prevalent (67/104, 64.4 %). Phylogenetic and Simplot analyses showed that seven intra-genogroup recombinant strains were detected: three GII.21 RdRp/GII.3 VP1 recombinants, two GII.12 RdRp/GII.3 VP1 recombinant and two GII.12 RdRp/GII.1 VP1 recombinant. Maximum x 2 analysis indicated that all had similar breakpoints near ORF1/ORF2 junction (p < 0.001) either slightly upstream within the C-terminus of RdRp or downstream within the N-terminal domain of VP1.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1075-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบกระเพาะอาหารและลำไส้ -- จุลชีววิทยา -- ไทย
dc.subjectพันธุศาสตร์ไวรัส -- ไทย
dc.subjectGastrointestinal system -- Microbiology -- Thailand
dc.subjectViral genetics -- Thailand
dc.subjectGenetic recombination
dc.titleการศึกษาการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนพันธุกรรมของฮิวแมนโนโรไวรัสในประเทศไทย ช่วงปี ค.ศ. 2009-2014en_US
dc.title.alternativeDETECTION OF RECOMBINANT HUMAN NOROVIRUS IN THAILAND ISOLATED BETWEEN 2009-2014en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineชีวเคมีทางการแพทย์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoryong.p@chula.ac.then_US
dc.email.advisorSunchai.P@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1075-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5674029430.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.