Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45752
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย ปรีชาวัฒน์ | en_US |
dc.contributor.author | สราวุฒิ ธนสมบูรณ์พันธุ์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-17T04:04:57Z | |
dc.date.available | 2015-09-17T04:04:57Z | |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45752 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | ที่มา: ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด atrial fibrillation (AF) เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ มีผลทำให้เพิ่มอัตราการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว อัมพฤกษ์ อัมพาต อัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการเสียชีวิต ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ มีการศึกษาเกี่ยวกับระดับ brain natriuretic peptide (BNP) ในพลาสมา ในการพยากรณ์การเกิด AF หลายการศึกษาและพบว่ามีความสัมพันธ์กันในเชิงบวก แต่ยังไม่พบการศึกษาใดที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเกิด AF และระดับ BNP ในผู้ป่วยใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ การศึกษานี้จึงมุ่งเน้นจะหาความสัมพันธ์ของ AF และระดับ BNP ในผู้ที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ในคนไทย เป็นการตรวจเพื่อช่วยในการพยากรณ์โรค ซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระดับบีเอนพีในพลาสมาและการเกิดเอเตรียลฟิบริลเลชันในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิด dual chamber pacemaker ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ วิธีวิจัย: เป็นแบบการวิจัยเชิงพรรณนาทางคลินิก ผู้ป่วยที่มาตรวจที่คลินิกเครื่องกระตุ้นหัวใจโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ทุกรายที่ตรวจพบ AF และผ่านเกณฑ์การคัดเลือกเข้า ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2557 ที่ยินยอมเข้าร่วมการวิจัยจะได้รับการตรวจเครื่องกระตุ้นหัวใจหาการเกิด AF และตรวจเลือดหาระดับ BNP ในวันที่มาตรวจติดตามอาการที่ 0, 3, 6 เดือน เพื่อนำมาวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ ผลการศึกษา: จากการศึกษามีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 39 ราย เป็นเพศหญิง 20 ราย (51.3%) อายุเฉลี่ย 72 ปี ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยข้อบ่งชี้ sick sinus syndrome 32 ราย (81.6%) ผู้ป่วยที่เข้าร่วมการวิจัยได้รับการตรวจเลือดร่วมกับการตรวจเครื่องกระตุ้นหัวใจทั้งหมด 58 ครั้ง การกระจายของข้อมูลเป็นแบบเบ้ซ้าย ระดับ BNP ในพลาสมา สัมพันธ์กับ AF burden(%)ในระดับปานกลางโดยมีค่า correlation coefficient (r) 0.411, p = 0.001 นอกจากนี้ยังพบว่า AF burden (%) ไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณการกระตุ้นหัวใจห้องล่าง (ventricular pacing) โดยมีค่า correlation coefficient (r) 0.233, p=0.079 และปริมาณการกระตุ้นหัวใจห้องล่างก็ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับ BNP ในพลาสมาอีกด้วย สรุป: ระดับ BNP ในพลาสมามีความสัมพันธ์กับ AF burden (%) ในระดับปานกลางและเป็นเพียงหนึ่งในหลายๆปัจจัยที่สัมพันธ์กับปริมาณการเกิด AF ในผู้ป่วยที่เข้าร่วมการวิจัยเนื่องจากมี half life สั้น และผู้ป่วยส่วนใหญ่มีภาวะ sick sinus syndrome จึงใช้พยากรณ์การเกิด AF ในผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้ไม่ดี | en_US |
dc.description.abstractalternative | Background: Atrial fibrillation (AF) is one of major health problems. AF increases heart failure, stroke, admission and even death rate. Many studies had found a strong correlation between plasma BNP level and AF burden in non-pacing patients. However, there is no similar study in pacing patients, so this is the first study that was conducted to find the correlation between plasma BNP level and AF burden in Thai patients with permanent pacemaker. Our study tries to find a good predictor of AF burden to improve health care quality. Objective: To determine correlation of plasma BNP Level and AF Burden in Patients with dual chamber permanent pacemaker in King Chulalongkorn Memorial Hospital. Method: This research is descriptive study. Patients with dual chamber pacemaker from pacemaker clinic in King Chulalongkorn Memorial Hospital with evidence of AF from June to December, 2014 were recruited in the study. Inform consent was obtained. Pacemaker interrogation for AF burden and measured plasma BNP level at 0, 3rd, 6th month was recorded. Result: 39 pacemaker patients were recruited. There were 20 female patients (51.3%), average age was 72 years. Indication for pacemaker implantation was mostly from sick sinus syndrome (81.6%). Pacemaker interrogation and blood examination were measured 58 records and used for analysis. The data showed negatively skewed distribution. Correlation coefficient of plasma BNP level and AF burden (%) was 0.411, p = 0.001. Correlation coefficient of AF burden (%) and ventricular pacing (%) was 0.233, p=0.079. The study didn’t find any difference between amount of ventricular pacing (%) and plasma BNP level. Conclusion: The study showed moderate correlation of plasma BNP level and AF burden in pacing patients. Plasma BNP level was just only one factor that could be associated with AF. Due to short half-life of BNP and most of the study patients had underlying of sick sinus syndrome, it was not the good predictor of AF burden in our patients. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.579 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เอเตรียลฟิบริลเลชัน | |
dc.subject | ตัวคุมจังหวะหัวใจ | |
dc.subject | Atrial fibrillation | |
dc.subject | Cardiac pacemakers | |
dc.title | ความสัมพันธ์ของระดับบีเอนพีในพลาสมาและการเกิดเอเตรียลฟิบริลเลชันในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ | en_US |
dc.title.alternative | CORRELATION OF PLASMA BNP LEVEL AND ATRIAL FIBRILLATION BURDENIN PATIENTS WITH PERMANENT PACEMAKER | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Somchai.Pr@chula.ac.th,S_prechawat@hotmail.com,prechawat@gmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.579 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5674084930.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.