Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45990
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกษม เพ็ญภินันท์en_US
dc.contributor.authorชลลดา นาคใหญ่en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:21:18Z
dc.date.available2015-09-18T04:21:18Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45990
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดเรื่องความเสมอภาคของคาร์ล มาร์กซ์ซึ่งเป็นแนวคิดที่วิพากษ์สังคมทุนนิยมโดยมีสมมติฐานว่าความเสมอภาคในปรัชญาของคาร์ล มาร์กซ์เป็นทั้งบรรทัดฐานและเป้าหมายของการปลดปล่อยจากความไม่เสมอภาคที่เกิดขึ้น กระบวนการกดขี่ขูดรีดคือการแสวงหามูลค่าส่วนเกินของระบบทุนนิยมซึ่งทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมขึ้นภายในความสัมพันธ์ทางการผลิต สิ่งที่ตามมาคือความขัดแย้งทางชนชั้นและการต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรม มาร์กซ์ชี้ให้เห็นว่าความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นมันไม่ได้เป็นเพียงคำอธิบายถึงลักษณะของปัญหาที่เกิดขึ้นในวิถีการผลิตทุนนิยม แต่ยังเป็นปัญหาซึ่งเกิดขึ้นในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ นั่นคือ การลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์ เขาเสนอหนทางแก้ไขปัญหาคือการต้องปลดปล่อยตนเองจากการกดขี่ขูดรีดและการครอบงำทางอุดมการณ์เพื่อนำไปสู่ความเสมอภาคซึ่งมาร์กซ์เรียกสภาวการณ์นี้ว่าสังคมคอมมิวนิสต์en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis is an attempt to elaborate Karl Marx’s notion of equality as a normative ground of his philosophy. It also ponders equality as the hypothesis of true communism. When Marx criticizes the capitalist mode of production, his critique is normally understood as the issue of class struggle. This ignores his effort to bring out the element of human relationship, while demonstrating the exploitation problem. The author wants to call into question the dehumanization in the economic exploitation in order to disclose the pathology of human relationship via emancipation. This subsequently explains somehow Marx brings out the idea of communism as that which makes human relationship equal to one another. It also renders the classless society possible.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.706-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปรัชญามาร์กซิสต์
dc.subjectคอมมิวนิสต์กับปรัชญา
dc.subjectทุนนิยม
dc.subjectการแสวงหาประโยชน์
dc.subjectความเสมอภาค
dc.subjectเสรีภาพ
dc.subjectชนชั้นในสังคม
dc.subjectความขัดแย้งทางสังคม
dc.subjectPhilosophy, Marxist
dc.subjectCommunism and philosophy
dc.subjectCapitalism
dc.subjectExploitation
dc.subjectEquality
dc.subjectLiberty
dc.subjectSocial classes
dc.subjectSocial conflict
dc.titleแนวคิดความเสมอภาคในปรัชญาของคาร์ล มาร์กซ์en_US
dc.title.alternativeTHE CONCEPT OF EQUALITY IN KARL MARX'S PHILOSOPHYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineปรัชญาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKasem.P@Chula.ac.th,monsieurkasem@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.706-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5480128622.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.