Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46202
Title: การปรับปรุงแผนควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลิตวงจรไฟฟ้าแบบยืดหยุ่นได้
Other Titles: THE IMPROVEMENT OF CONTROL PLAN IN FLEXIBLE CIRCUIT MANUFACTURE.
Authors: รัชพล นันทะพรหม
Advisors: ปารเมศ ชุติมา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Parames.C@Chula.ac.th,parames.c@chula.ac.th
Subjects: วงจรพิมพ์แบบยืดหยุ่น -- การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมกระบวนการผลิต
Flexible printed circuits -- Quality control
Process control
Issue Date: 2557
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปัจจุบันตลาดสินค้าโทรศัพท์มือถือชนิดสมาร์ทโฟนกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ผู้ผลิตในห่วงโว่อุปทานนี้มีการแข่งขันสูง ดังนั้นผู้ผลิตต้องมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพของสินค้าซึ่งจะช่วยเพิ่มอำนาจการแข่งขันทางการค้าให้อยู่เหนือคู่แข่งโดยเฉพาะผู้ผลิตวงจรไฟฟ้าแบบยืดหยุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในชิ้นส่วนที่สำคัญของโทรศัทพ์มือถือ งานวิจัยนี้ได้นำเสนอแนวทางในการพัฒนาแผนควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลิตวงจรไฟฟ้าแบบยืดหยุ่นในส่วนของกระบวนการประกอบและตัดเจาะ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์อาการชัดช้องและผลกระทบมาใช้ในการลำดับความสำคัญของชนิดของเสียที่ควรได้รับการควบคุมอย่างเข้มงวด แล้วใช้หลักการการควบคุมกระบวนการทางสถิติและการปรับปรุงวิธีการตรวจงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจจับของเสียของแผนควบคุมคุณภาพ ผลการทดลองสรุปได้ว่าแผนควบคุมคุณภาพหลังการปรับปรุงสามารถตรวจจับของเสียและลดจำนวนของเสียได้จริง ส่งผลให้สามารถลดค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดชึ้นจากปัญหาของเสียถูกส่งมอบไปให้ลูกค้าลงได้
Other Abstract: Smart phone market has been growing larger and larger in recent years. This fact makes enormous competitiveness in its supply chain. Therefore, the product quality is the most importance part to improve business competitiveness, especially a flexible printed circuit which is a main assembly component in smart phones. This paper presents the approach to improve the quality control plan of the flexible printed circuit backend process. Failure Mode Effective Analysis (FMEA) was adopted to prioritize the defective and analyze weak points in the original quality control plan. Then, Statistical Process Control (SPC), optimizing inspection method and working procedure of inspection process, were introduced to improve the detection ability of the quality control plan. The results showed that the implementation of the new quality control plan could reduce escaped defective parts and the expense of escaped defect parts significantly.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46202
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1086
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2014.1086
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670948421.pdf4.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.