Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ ศุภปีติพรen_US
dc.contributor.authorจันทร์สุดา จันทร์นพคุณen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:22Z
dc.date.available2015-09-18T04:23:22Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46232
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาระดับพลังสุขภาพจิตและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับพลังสุขภาพจิตของพยาบาลจบใหม่หมุนเวียนที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลจบใหม่หมุนเวียนที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ของกลุ่มตัวอย่าง และยินดีเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 193 ราย โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดพลังสุขภาพจิตของกรมสุขภาพจิต แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมและแบบทดสอบบุคลิกภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติt-test และ One-Way ANOVA หาความสัมพันธ์โดยวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและหาปัจจัยทำนายโดยวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงร้อยละ 97.4 อายุเฉลี่ย 22.6 ปี มีระดับพลังสุขภาพจิตอยู่ในระดับปกติร้อยละ 75.2 และอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 9.8 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพลังสุขภาพจิตได้แก่ สถานภาพทางเศรษฐกิจ ภาระทางครอบครัว ความมั่นใจต่อการปฏิบัติการพยาบาล การประสบเหตุการณ์ความเครียด แรงสนับสนุนทางสังคมและบุคลิกภาพ เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยทำนายตัวแปรที่สามารถร่วมกันทำนายระดับพลังสุขภาพจิตได้ คือ แรงสนับสนุนทางสังคม บุคลิกภาพและภาระทางครอบครัว สามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 44.7en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research was to study Resilience Quotient (RQ) and related factors of newly rotating graduated nurses of King Chulalongkorn Memorial Hospital. The subjects were 193 newly rotating graduated nurses of King Chulalongkorn Memorial Hospital in 2014. Data were obtained by using questionnaire; which consisted of Demographic data and general information, the Thai Resilience Quotient screening test , the Personal Resource Questionnaire PRQ : Part II , and the Maudsley Personal Inventory . Statistical analyses were descriptive statistic, t-test, One-way ANOVA, Pearson's product moment correlation coefficient and multiple linear regression. About 97 percent of the subjects were female, their mean age was 22.6 years. Most of them (75.2%) had normal RQ, 15% had high RQ and 9.8% had low RQ. Related factors to RQ included economic status ,family burden, confidence to practice nursing, stressful life events, social support and personality type. It was found that social support, personality type and family burden could predict RQ with a predictive value of 44.7%en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1109-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยาบาล -- สุขภาพจิต
dc.subjectNurses -- Mental health
dc.titleระดับพลังสุขภาพจิตของพยาบาลจบใหม่หมุนเวียนที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en_US
dc.title.alternativeRESILIENCE QUOTIENT ( RQ ) OF NEWLY ROTATING GRADUATED NURSE OF KING CHULALONGKORN MEMORIAL HOSPITAL.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSiriluck.S@Chula.ac.th,siriluckspp@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1109-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5674011030.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.