Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฏฐภรณ์ หลาวทองen_US
dc.contributor.authorเพ็ญนภา ศรีโฉมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:44Z
dc.date.available2015-09-18T04:23:44Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46284
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสอดคล้องของโมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของแบบวัดสุขภาพจิตแบบองค์รวมและเฉพาะด้าน 2) เพื่อเปรียบเทียบอิทธิพลของวิธีการวัด(method effect) ที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคมแบบองค์รวมและแบบเฉพาะด้าน โดยเทคนิค (CEUL) 3) เพื่อเปรียบเทียบอิทธิพลของวิธีการวัด(method effect)ที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคมแบบองค์รวมและแบบเฉพาะด้าน โดยใช้เทคนิค (CEML) 4) เพื่อเปรียบเทียบอิทธิพลของวิธีการวัด (method effect) ที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคมโดยใช้เทคนิค CEML และ CEUL กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัดสุขภาพจิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของแบบวัดสุขภาพจิตแบบเฉพาะด้านมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มากกว่าแบบองค์รวม (ไค-สแควร์ = 1123.95, df = 84,GFI = 0.88, AGFI =0.83, SRMR =0.076, RMSEA = 0.11) (2) การตรวจสอบอิทธิพลที่เกิดจากการวัด (method effect) ที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคมโดยใช้เทคนิค CEUL พบว่าการวิเคราะห์แบบองค์รวมมีความเหมาะสมมากกว่าแบบเฉพาะด้าน (ไค-สแควร์ =766.88, df =76,CFI = 0.94,NNFI =0.92,RMSEA = 0.091) (3) การตรวจสอบอิทธิพลที่เกิดจากการวัด (method effect ) ที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคมโดยใช้เทคนิค CEML พบว่าการวิเคราะห์แบบเฉพาะด้านมีความเหมาะสมมากกว่าแบบองค์รวม (ไค-สแควร์ = 1454.92, df=106, CFI = 0.89, NNFI = 0.86, RMSEA = 0.11) (4) ในการตรวจสอบอิทธิพลที่เกิดจากวิธีการวัด (method effect ) ที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคม พบว่าเทคนิค CEUL มีความเหมาะสมมากกว่าเทคนิค CEMLen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was 1) to compare of analyzed by confirmatory factor analysis in holistic model and domain-specific model on mental health scale, 2) to compare of method effects between holistic model and domain-specific model of mental health scale derived from social desirability responses analyzed by controlling for the effects of an unmeasured latent methods factor (CEUL) techniques, and 3) to compare of method effects between holistic model and domain-specific model of mental health scale derived from social desirability responses analyzed by controlling for the effects of a directly measured latent methods factor (CEML) techniques. 4) to compare of examination method effects of mental health scale derived from social desirability responses analyzed by CEUL techniques and CEML techniques. The sample consisted of 1,100 high school students under the basic education commission, Bangkok. The research instrument was a mental health scale. Data were analyzed by confirmatory factor analysis. The research results were as follows: (1) the confirmatory factor analyzed domain-specific model more inventory were fit to the empirical data than holistic model respectively at the .01 significant level; (chi- square = 1123.95, df = 84, GFI = 0.88, AGFI = 0.83, SRMR =0.076, RMSEA = 0.11). (2) Analyzed results was holistic model of mental health scale derived from social desirability responses more suitable than domain-specific model by CEUL techniques; (chi- square = 766.88, df = 76, CFI = 0.94, NNFI =0.92, RMSEA = 0.091). (3) Analyzed results was domain-specific model of mental health scale derived from social desirability responses more suitable than holistic model by CEML techniques; (chi- square = 1454.92, df = 106, CFI = 0.89, NNFI = 0.86, RMSEA = 0.11) (4) In examination effects of measurement method of mental health scale derived from social desirability responses by CEUL technique more suitable than CEML technique.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1151-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบทดสอบทางจิตวิทยา
dc.subjectสุขภาพจิต
dc.subjectอิทธิพล (จิตวิทยา)
dc.subjectPsychological tests
dc.subjectMental health
dc.subjectInfluence (Psychology)
dc.titleการเปรียบเทียบอิทธิพลของวิธีการวัดที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคม : การประยุกต์ใช้เทคนิคซีอียูแอลและเทคนิคซีอีเอ็มแอลen_US
dc.title.alternativeCOMPARISON OF EFFECTS OF MEASUREMENT METHODS ON MENTAL HEALTH SCALE DERIVED FROM SOCIAL DESIRABILITY RESPONSES : AN APPLICATION OF CEUL AND CEMLen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNuttaporn.L@Chula.ac.th,Nuttaporn.L@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1151-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683855927.pdf5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.