Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46508
Title: | TEMPORAL PROFILE OF BTEX AT THE AREA OF PETROL STATION |
Other Titles: | การเปลี่ยนแปลงตามเวลาของสารระเหยบีเทคในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง |
Authors: | Pattamaporn Rattanajongjitrakorn |
Advisors: | Tassanee Prueksasit |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | Tassanee.C@Chula.ac.th |
Subjects: | Service stations -- Thailand -- Bangkok Gases Benzene Toluene Ethylbenzene Xylene สถานีบริการน้ำมัน -- ไทย -- กรุงเทพฯ ก๊าซ เบนซิน โทลูอีน เอทิลเบนซิน ไซลีน |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study aims to investigate temporal variation of BTEX during a day at petrol station, by collecting BTEX in ambient air at back of the station, near filling nozzle, and roadside. The study of comparison between BTEX variation at the petrol station in urban and suburban area was conducted in 2012, and the study between their variation in wet (July – August 2013) and dry (November 2013) season at suburban station. BTEX was collected by a charcoal glass tube connected to a personal air pump with flow rate 100 ml/min during 6 a.m. to 10 p.m. In 2012, each sample was collected for every 4-hr, while 2-hr interval sampling was done in 2013. After finish the sampling, a charcoal tube was extracted by carbon disulfide and BTEX was analyzed by GC/FID. The study found that BTEX had high concentration in rush hour because of traffic congestion and lot of customers. Moreover, BTEX concentration nearby refueling nozzles had the highest concentration among 3 sampling points, about 6 times of roadside. The averaged tBTEX obtained from the refueling nozzles and roadside were 15,866.65±7,248.41 and 2,536.31±2,018.34 µg/m3, respectively. The ratio of benzene concentration between 3 sampling points was the lowest among BTEX, because the amount of benzene is not diminished by distance from the main point source as much as toluene, ethylbenzene and xylene. BTEX in a station which was smaller and surrounding with trees and buildings tended to have well dispersion inside station more than the bigger one. BTEX concentration at urban station was extremely higher than at suburban station and BTEX in wet season was significantly lower than in dry season (p<0.005). From statistical analysis, wind speed was a strongest affecting factor on diurnal variation of BTEX especially benzene and ethylbenzene nearby refueling nozzles. |
Other Abstract: | การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสารระเหยบีเทค (เบนซีน โทลูอีน เอทิลเบนซีน และไซลีน) ในช่วงวัน และตรวจวัดความเข้มข้นของสารระเหยบีเทคในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงบริเวณหัวจ่ายน้ำมัน หน้าสถานีบริการซึ่งอยู่บริเวณริมถนน และด้านหลังสถานีบริการ ทำการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสถานีบริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในปี 2555 และทำการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างฤดูฝน (กรกฎาคม-สิงหาคม 2556) และฤดูแล้งฝน (พฤศจิกายน 2556) ที่สถานีบริการในเขตปริมณฑล เก็บตัวอย่างสารบีเทคโดยใช้หลอด charcoal glass tube ต่อเข้ากับเครื่องปั๊มดูดอากาศชนิดพกพาที่อัตราการไหลของอากาศเท่ากับ 100 มิลลิลิตรต่อนาที ระหว่างเวลา 6:00-22:00 น. โดยเก็บตัวอย่างทุกๆ 4 ชั่วโมง ในปี 2555 และทุกๆ 2 ชั่วโมงในปี 2556 หลังจากนั้นนำหลอดตัวอย่างที่เก็บได้มาสกัดด้วยสารละลายคาร์บอนไดซัลไฟด์ และนำไปวิเคราะห์ด้วยเครื่อง GC/FID จากการศึกษาพบว่า สารบีเทคในช่วงวันมีปริมาณมากที่สุดในชั่วโมงเร่งด่วน ได้แก่ 6:00-10:00 น. และ 16:00-20:00 น. ซึ่งเป็นผลจากการจราจรหนาแน่นและลูกค้ามาใช้บริการในสถานีมากกว่าช่วงอื่นๆ นอกจากนี้ยังพบว่า สารบีเทคบริเวณหัวจ่ายน้ำมันมีปริมาณมากที่สุด และมากกว่าจุดริมถนนประมาณ 6 เท่า โดยค่าเฉลี่ยสารบีเทคที่พบบริเวณนั้น คือ 15,866.65±7,248.41 และ 2,536.31±2,018.34 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ จากผลการวิเคราะห์สัดส่วนของสารระหว่างจุดเก็บตัวอย่างพบว่า ปริมาณของเบนซีนไม่ได้ลดลงตามระยะทางที่ห่างไปจากจุดกำเนิดมากเท่ากับโทลูอีน เอทิลเบนซีน และไซลีน สารบีเทคในสถานีบริการที่มีขนาดเล็กและมีสิ่งปลูกสร้างรวมถึงต้นไม้ล้อมรอบมีการแพร่กระจายในสถานีมากกว่าสถานีบริการขนาดใหญ่กว่าและลมพัดผ่านได้มากกว่า ปริมาณสารบีเทคที่พบที่สถานีบริการในเขตกรุงเทพมหานครมีค่าสูงกว่าสถานีบริการในเขตปริมณฑลและปริมาณสารบีเทคในฤดูฝนมีน้อยกว่าในฤดูแล้งฝนอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.005) จากการวิเคราะห์ทางสถิติความเร็วลมเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในรอบวันของสารบีเทค โดยเฉพาะเบนซีนและเอธิลเบนซินบริเวณหัวจ่ายน้ำมันมากที่สุด |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Environmental Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46508 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.376 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.376 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5487551620.pdf | 5.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.