Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิชen_US
dc.contributor.authorศศิกานต์ โคตสาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:17Z
dc.date.available2015-09-19T03:40:17Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46532
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของท่าทีผู้ซักถามและการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ถูกซักถามต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม ผู้เข้าร่วมการวิจัยคือ นิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 123 คน ถูกสุ่มเข้าเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง ได้แก่ ท่าทีผู้ซักถามแบบเป็นมิตรหรือไม่เป็นมิตร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) มาตรวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง 2) มาตรวัดการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า 1.ผู้ถูกสัมภาษณ์ในเงื่อนไขผู้ซักถามแบบไม่เป็นมิตรคล้อยตามสิ่งชี้นำครั้งที่ 2 และเปลี่ยนคำตอบ มากกว่าผู้ถูกสัมภาษณ์ในเงื่อนไขผู้ซักถามแบบเป็นมิตร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.การเห็นคุณค่าในตนเองไม่มีความสัมพันธ์กับการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม 3.ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างท่าทีของผู้ซักถาม และการเห็นคุณค่าในตนเองกับการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถามen_US
dc.description.abstractalternativeThe research was conducted to explore the effects of interrogator style and an interviewee’s self-esteem on interrogative suggestibility. One hundred and twenty-three undergraduate students were randomly tested in one of two conditions: “friendly” or “unfriendly” interrogator style. The instruments in this research were 1) The self-esteem scale 2) The Gudjonsson suggestibility scale. Results show that Hierarchical multiple regression analysis clearly indicates that 1.Participants in the unfriendly condition have significantly higher suggestibility than participants in the friendly condition (p < .05). 2.There are no significant correlation between an interviewee’s self-esteem and suggestibility scores. 3.There is no interaction between interrogator style and an interviewee’s self-esteem on interrogative suggestibility.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1298-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความนับถือตนเอง
dc.subjectการคล้อยตาม
dc.subjectจิตวิทยาสังคม
dc.subjectSelf-esteem
dc.subjectConformity
dc.subjectSocial psychology
dc.titleผลของท่าทีผู้ซักถามและการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ถูกซักถามต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถามen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF INTERROGATOR STYLE AND AN INTERVIEWEE’S SELF-ESTEEM ON INTERROGATIVE SUGGESTIBILITYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorApitchaya.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1298-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577629438.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.