Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorธีรวีร์ จิตมหนิรันดร์-
dc.contributor.authorฐานวีร์ พงศ์พศวัต-
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ หาญสุวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-09-22T07:26:55Z-
dc.date.available2015-09-22T07:26:55Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.otherPSP5703-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46656-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างระดับการมีสติ ความต้องการทางปัญญา และการเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว ผู้ร่วมงานวิจัยคือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจากจังหวัดศรีสะเกษ ประเทศไทย ผู้วิจัยทำการวัดระดับของการมีสติ ผ่านการใช้มาตรวัดระดับการมีสติฉบับภาษาไทย พัฒนาโดย Brown และ Ryan (2003) และวัดระดับความต้องการทางปัญญาโดยใช้มาตรวัดความต้องการทางปัญญาฉบับภาษาไทย (ฉบับย่อ) พัฒนาโดย Cacioppo (1984) ผู้วิจัยทำการวัดความสามารถในการเรียนรู้โดยไม่รู้ตัวโดยใช้การทดสอบไวยากรณ์ประดิษฐ์ ซึ่งใช้ตรวจสอบว่าผู้ทำการทดสอบสามารถที่จะทำความเข้าใจถึงโครงสร้างของความเชื่อมโยงของตัวอักษรโดยไม่ตระหนักรู้ถึงการเรียนรู้นั้น จากการสังเกตโครงสร้างที่ไม่ได้บอกไว้ว่ามีอยู่ และซ่อนอยู่ภายใต้ชุดของตัวอักษรที่ดูเหมือนเป็นการเรียงแบบสุ่ม ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงสหสัมพันธ์ทางบวกระหว่างระดับการมีสติและความต้องการทางปัญญา และสหสัมพันธ์ทางลบระหว่างระดับการมีสติ และความสามารถในการเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว แม้จะพบความสัมพันธ์ดังกล่าวแต่งานวิจัยนี้ก็ยังคงไม่สามารถที่จะให้หลักฐานสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างระดับความต้องการทางปัญญา และการเรียนรู้โดยไม่รู้ตัวได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to investigate the relationships between mindfulness, need for cognition, and implicit learning. Participants were high school students from Sisaket province, Thailand. The investigators measured students’ levels of mindfulness using a Thai version of the Mindful Attention Awareness Scale developed by Brown and Ryan (2003) and measured need for cognition using a Thai version of the Need for Cognition (short form) developed by Cacioppo (1984). We measured their implicit learning capabilities by using the artificial grammar learning test, which examines how much a person could understand a rule structure of interrelated letters string implicitly from a prespecified structure hidden in what seem to be a series of sequences of random letters. The results have shown a positive correlation between mindfulness and need for cognition and a negative correlation between mindfulness and implicit learning. Despite all of those relationships, this study has failed to provide evidence supporting the relationship between need for cognition and implicit learning.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1370-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสติen_US
dc.subjectปัญญาen_US
dc.subjectการรู้คิดen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectMindfulnessen_US
dc.subjectCognitionen_US
dc.subjectLearningen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการมีสติ ความต้องการทางปัญญา และการเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว : การศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดศรีสะเกษen_US
dc.title.alternativeRELATIONSHIPS BETWEEN MINDFULNESS, THE NEED FOR COGNITION, AND IMPLICIT LEARNING : A STUDY IN HIGH SCHOOL STUDENTSen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsakkaphat.n@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1370-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
theeravee_ji.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.