Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณระพี สุทธิวรรณ-
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorกนกวรรณ โสภณอดิศัย-
dc.contributor.authorปัญญ เขื่อนขันธ์สถิตย์-
dc.contributor.authorสรัลชนา บญชูสนอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-11-03T04:28:29Z-
dc.date.available2015-11-03T04:28:29Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.otherPSP5712-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46905-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2014en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของรูปร่างในอุดมคติจากสื่อออนไลน์ได้แก่ Facebook (FB) และ Instagram (IG) ที่ส่งผลต่อค่านิยมทางวัตถุ และเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และวายที่มีความสัมพันธ์กับอิทธิพลของรูปร่างในอุดมคติจากสื่อออนไลน์ ได้แก่ FB และ IG ที่ส่งผลต่อค่านิยมทางวัตถุ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 239 คน ได้แก่ บุคคลในเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ 93 คน เพศชาย 36 คน เพศหญิง 57 คนและเจนเนอเรชั่นวาย 146 คน เพศชาย 66 คน เพศหญิง 79 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดค่านิยมทางวัตถุ (α = .885) และมาตรวัดรูปร่างในอุดมคติ (α = .955) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของข้อกระทง, การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพื้นฐานของตัวแปร, วิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย, การเปรียบเทียบค่า b จากสมการของ Cohen, Cohen, West และ Akien (2003) และหาค่า Z หรือคะแนนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ในเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ รูปร่างในอุดมคติซึ่งได้รับอิทธิพลจากสื่อออนไลน์ได้แก่ FB กับ IG สามารถ ทำนายความแปรปรวนของคะแนนความเป็นวัตถุนิยมได้ร้อยละ 23.9 (b = .223, β = .489, P < .01) และในเจนเนอเรชั่นวายจะทำนายความเป็นวัตถุนิยมได้ร้อยละ 22.9 (b = .196, β = .478, P < .01) 2. รูปร่างในอุดมคติซึ่งได้รับอิทธิพลจากสื่อออนไลน์ ได้แก่ FB และ IG ที่ส่งผลต่อการมีค่านิยมทางวัตถุ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันในสองเจนเนอเรชั่นทั้งเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และวาย (b = .027, SE = .051, Z = .523, P > .05)en_US
dc.description.abstractalternativeThe propose of this research was to study the the effect of Ideal Body on facebook (FB) and instagram (IG) which are online media related to materialism, and to compare the difference between generation X and Y that related to this issue. The subject is consisted of 239 generation X and Y. That is 93 people of generation X which include 36 males and 57 females. And 146 people of generation Y which are 66 males and 79 females. The instruments we adopted are including The Material Values Scale (MVS) (α = .885) and the internalization subscale of the Sociocultural Attitudes towards Appearance Questionnaire (SATAQ) (α = .955). The statistical methods used to analyze data is Corrected Items Total Correlation : CITC, Basic Analysis, Simple Regression Analysis : SRA, Comparing B score from equation of Cohen Cohen, West & Akien (2003) to find Z score. The results were as follows: 1. In generation X, The ideal body which was effected from FB and IG online media can significantly predicted materialism at 23.9 % (b = .223 , β = .489, P < .01). In generation Y can significantly predicted materialism at 22.9 (b = .196, β = .478, P < .01) 2. The ideal body in FB and IG online media that effected materialism wasn’t found any difference between generation X and Y.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1385-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัตถุนิยมen_US
dc.subjectร่างกายen_US
dc.subjectเฟซบุ๊คen_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectMaterialismen_US
dc.subjectHuman bodyen_US
dc.subjectFacebook (Electronic resource)en_US
dc.subjectSocial mediaen_US
dc.titleอิทธิพลของรูปร่างในอุดมคติจากสื่อออนไลน์ ได้แก่ Facebook และ Instagram ที่ส่งผลต่อการมีค่านิยมทางวัตถุโดยมีเจนเนอเรชนั่ เอ็กซ์และวายเป็นตัวแปรกำกับen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF IDEAL BODY IN FACEBOOK AND INSTAGRAM ONLINE MEDIA ON MATERIALISM WITH GENERATION X AND Yen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorcpanrapee@yahoo.com-
dc.email.advisorsakkaphat.n@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1385-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanokwan_so.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.