Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำเภา วรางกูร
dc.contributor.authorจันทร์พิมพ์ สายสมร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2016-01-17T03:38:26Z
dc.date.available2016-01-17T03:38:26Z
dc.date.issued2514
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47114
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2514en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาเรื่องระบบหน่วยเสียงชนิดต่างๆ ในภาษาถิ่นเพชรบูรณ์ ข้อมูลที่นำมาศึกษาได้มาจากภาษาที่ผู้วิจัยใช้เองเป็นส่วนใหญ่ เพราะผู้วิจัยเป็นชาวเพชรบูรณ์ จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า หน่วยเสียงในภาษาเพชรบูรณ์มี 3 ชนิด คือ หน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ และหน่วยเสียงวรรณยุกต์ หน่วยเสียงพยัญชนะประกอบด้วยหน่วยเสียงพยัญชนะเดี่ยว ซึ่งมีอยู่ 20 หน่วย หน่วยเสียงสระประกอบด้วยหน่วยเสียงสระเดี่ยว ซึ่งมีอยู่ 18 หน่วย และหน่วยเสียงสระประสม 5 หน่วย หน่วยเสียงวรรณยุกต์มีอยู่ 5 หน่วย ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ผู้วิจัยได้อธิบายถึงลักษณะและหน้าที่ต่างๆของหน่วยเสียงแต่ละชนิดไว้โดยละเอียด และได้กล่าวถึงการประกอบหน่วยเสียงชนิดต่างๆ เข้าเป็นพยางค์ ซึ่งปรากฏเป็นลักษณะโครงสร้างของพยางค์แบบต่างๆ รวม 19 แบบ ซึ่งอาจจะแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 5 ประเภท คือ CVV, CVVN, CVVS, CVN, และ CVS นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้รวบรวมพยางค์ที่มีใช้ในภาษาเพชรบูรณ์ไว้ด้วยเท่าที่พบมี 3310 พยางค์ ในจำนวนนี้มีอยู่ 3053 พยางค์ที่เป็นคำพยางค์เดียวส่วนที่เหลืออาจจะเป็นส่วนของคำหลายพยางค์ ผู้วิจัยได้เลือกอธิบายความหมายของคำที่ปรากฏเป็นข้อมูลในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ในการเขียนวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะแบ่งเป็นบทต่างๆ 6 บท คือ บทที่ 1 บทนำ ความมุ่งหมายและขอบเขตของการวิจัย บทที่ 2 หน่วยเสียงพยัญชนะ บทที่ 3 หน่วยเสียงสระ บทที่ 4 หน่วยเสียงวรรณยุกต์ บทที่ 5 ลักษณะพยางค์ บทที่ 6 ตารางคำและความหมายของคำในตาราง ในตอนท้ายผู้วิจัยได้เสนอแนะให้ผู้ที่สนใจเรื่องของภาษาถิ่นศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของหน่วยเสียงในภาษาเพชรบูรณ์กับภาษากรุงเทพฯ และศึกษาเรื่องความหมายของคำในภาษาถิ่นอื่นๆ ในทำนองเดียวกับที่ได้ศึกษาในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ตลอดจนศึกษาเรื่องสำนวนภาษาในภาษาถิ่นเพชรบูรณ์
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to analyze the phonemic system of Phetchabun dialect. The writer serves as her own informant, being a native speaker of the dialect under study. This study led to the conclusion that the phonemes of Phetchabun dialect are classified into three categories : consonants, vowels, and tones. The consonants comprise 20 simple consonant phonemes. The vowels comprise 18 simple vowel phonemes and 5 diphthongs. There are altogether 5 tonemes. In this thesis the writer has attempted to describe both the nature and the distribution of the individual phonemes thoroughly and to describe their combinations into different syllables. Nineteen patterns of syllabic structure have been found. They are grouped into 5 types : CVV, CVVN, CVVS, CVN, and CVS. Besides the writer found 3310 syllables in Phetchabun dialect 3053 of which occur as monosyllabic words and the remainder occur either as part of polysyllabic words. An attempt has also been made to compare the meaning of the cited words used in Phetchabun dialect and in Bangkok dialect. Finally it is suggested to those who are interested in persuing further research into Thai dialects that they should (1) make a systematic study of the correspondences between the phonemes of Phetchabun words and their cognates in Bangkok dialect or in any other dialect ; (2) make a semantic study of words in the other Thai dialects along the same lines as the present thesis ; and (3) make a study of idiomatic expressions in Phetchabun dialect.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสอนด้วยสื่อen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectโสตทัศนูปกรณ์en_US
dc.subjectTeaching -- Aids and devicesen_US
dc.subjectScience -- Study and teachingen_US
dc.subjectAudio-visual equipmenten_US
dc.titleปัญหาการใช้โสตทัศนูปกรณ์วิชาวิทยาศาสตร์ของนิสิตฝึกสอน คณะครุศาสตร์en_US
dc.title.alternativeThe Faculty of Education student-teachers' problems in using audio-visual aids in teaching scienceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.description.publicationจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chunpim_Sa_front.pdf655.29 kBAdobe PDFView/Open
Chunpim_Sa_ch1.pdf763.88 kBAdobe PDFView/Open
Chunpim_Sa_ch2.pdf791.62 kBAdobe PDFView/Open
Chunpim_Sa_ch3.pdf612.63 kBAdobe PDFView/Open
Chunpim_Sa_ch4.pdf883.62 kBAdobe PDFView/Open
Chunpim_Sa_ch5.pdf650.01 kBAdobe PDFView/Open
Chunpim_Sa_back.pdf748.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.