Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47231
Title: สภาพการดำเนินงานของโรงเรียนมัธยมศึกษาตามโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : การศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียน เมืองราดวิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์
Other Titles: The implementation process of the lower secondary school under the democratization of secondary education program : a case study of Muangradwithayakom School Changwat Phetchabun
Authors: วัฒนา ศิลปศร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม
ความเสมอภาคทางการศึกษา -- ไทย
การศึกษาต่อเนื่อง -- ไทย
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- เพชรบูรณ์
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอวิธีการประเมินอย่างเป็นระบบด้วยวิธีการศึกษาเฉพาะกรณีในการศึกษาสภาพการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และสาเหตุที่ทำให้การดำเนินงานของโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กิจกรรมตามมาตรการทั้ง 5 ของโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา มีกิจกรรมรวมทั้งสิ้น 19 กิจกรรม โรงเรียนได้ดำเนินการ 14 กิจกรรม และไม่ได้ดำเนินการ 5 กิจกรรม การดำเนินกิจกรรม มีปัญหา อุปสรรค และสาเหตุที่สำคัญ คือ คณะครูยังไม่เข้าใจแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของโครงการผู้บริหารไม่ได้เป็นผู้นำลงมือในการปฏิบัติงาน ขาดความร่วมมือจากบุคลากรภายในโรงเรียน ผู้ปกครองไม่สนับสนุนและให้ความร่วมมือ มีการประชาสัมพันธ์น้อย ไม่ได้รับการนิเทศและประเมินผลอย่างเป็นระบบ และงบประมาณมีจำกัด และความล่าช้าของบประมาณ 2. สาเหตุที่โรงเรียนไม่สามารถรับนักเรียนได้ถึงเป้าหมายของโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา เนื่องจาก 2.1 บุคลากรในโรงเรียนมีน้อยไม่พอที่จะปฏิบัติงานตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการได้ครบถ้วน 2.2 ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถิ่น 2.3 พื้นที่บริการด้านการศึกษาของโรงเรียนมีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางมาก
Other Abstract: The purpose of this research was to propose a case study research as a case study research as a tool for evaluating the problems, constraints and causes encountered the Muangradwithakom School, Changwat Petchabun, under the Democratization Program for not having reached the target of Educational Equity Project in the Lower-Secondary Level. The results were as follow: 1. Among 19 activites in 5 strategies of the Project, the school had implemented 14 activities which accounting some important problems and constraints they were : the staff had not understood the project well and known now to implement the activities, the administrators had not lead and paticipanted in implementation, not enough cooperation from school staff as well as from parents, too few of public relation work, lack the systematic of the evaluating and supervision and not enough budget as well delayment in budget system. 2. The causes which mad school could not reach the target of Educational Equity Project were : 2.1 Not enough personel in working to implement the activities of the project. 2.2 The poorness of people in the community. 2.3 The educational service areas under the project was too large.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิจัยการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47231
ISBN: 9745778281
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Watana_si_front.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Watana_si_ch1.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
Watana_si_ch2.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open
Watana_si_ch3.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open
Watana_si_ch4.pdf11.78 MBAdobe PDFView/Open
Watana_si_ch5.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Watana_si_back.pdf10.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.