Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47453
Title: การศึกษาวิธีการแก้ไขความขัดแย้งตามแบบโธมัส-คิลแมนน์ ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 9
Other Titles: A study of the conflict-handling according to Thomas-Kilmann conflict mode instrument of the secondary school adminstrators in secondary schools under the jurisdiction of the Department of the General Education , education region nine
Authors: วีระพงษ์ แสนโภชน์
Advisors: วีระวัฒน์ อุทัยรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
ผู้บริหารโรงเรียน -- ไทย
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- การบริหารงานบุคคล
โธมัส-คิลแมนน์คอนฟลิกซ์ โมด อินสตรูเมนท์
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการแก้ไขความขัดแย้งตามแบบของโธมัส-คิลแมน์ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตการศึกษา 9 โดยผู้วิจัยมุ่งศึกษาเฉพาะวิธีการแก้ไขความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 9 ใน 5 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย ขอนแก่น และสกลนคร โดยใช้เครื่องมือของ Thomas-Kilamann ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Thomas-Kilmann Conflict Mode Instrument พบว่าผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ส่วนใหญ่เลือกใช้การปรองดอง นอกนั้นเลือกใช้ การร่วมมือ การหลีกเลี่ยง การประนีประนอม การแข่งขัน ถ้าแบ่งตามระดับการใช้สูงที่สุดในการแก้ไขความขัดแย้งพบว่าการปรองดองและการร่วมมือใช้ในระดับปานกลาง การหลีกเลี่ยง และการประนีประนอมใช้ในระดับสูง การแข่งขันใช้ในระดับต่ำ
Other Abstract: The objective of this research was to study the conflict-handling according to Thomas-kilmann Conflict Mode Instrument of the secondary schools administrators in secondary schools under the Jarisdiction of the Department of General Education, Educational Region Nine in 5 provinces including Udornthani, Hnong Kai, Loay, Khon Kaen and Sakolnakorn. The study was found that most of the secondary school administrators chose to use accomodating , the others chose collaborating, avoiding, compromising and competing to solve the conflict. Regarding the use levels, accomodating and collaborating are at the middle, avoiding and compromising are at the high and competing was at the low.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: บริหารการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47453
ISBN: 9745776076
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Verapong_sa_front.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Verapong_sa_ch1.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open
Verapong_sa_ch2.pdf8.03 MBAdobe PDFView/Open
Verapong_sa_ch3.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Verapong_sa_ch4.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open
Verapong_sa_ch5.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open
Verapong_sa_back.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.