Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47678
Title: | การศึกษาพฤติกรรมการร่วมมือโดยการใช้โครงสร้างรางวัลในการเล่นเกม ของนักศึกษาบริหารงานธุรกิจระดับปริญญาตรี |
Other Titles: | A study of cooperative behavior with the use of game reward structure among bussiness administration undergraduates |
Authors: | อิทธิศักดิ์ อินทรประสิทธิ์ |
Advisors: | โยธิน ศันสนยุทธ จรุงกุล บูรพวงศ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล Jarungkul.B@chula.ac.th |
Issue Date: | 2536 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมการร่วมมือของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ เปรียบเทียบระหว่างนักศึกษาชั้นปีที่ 1 กับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 โดยการทดลองให้เล่นเกมทางเลือกของนักโทษ แบบที่ไม่เป็นเมตริกซ์ ในเงื่อนไขการเล่น เกม 3 แบบ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีพฤติกรรมการร่วมมือมากกว่านักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในทุกเงื่อนไขการเล่นเกม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.001) ส่วนในเงื่อนไขการเล่นเกมก็พบว่า ในเงื่อนไขการเล่นเกมแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีพฤติกรรมการร่วมมือมากกว่าในเงื่อนไขการเล่นเกมแบบแข่งขัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.05) และในเงื่อนไขการเล่นเกมแบบร่วมมือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีพฤติกรรมการร่วมมือมากกว่าในเงื่อนไขการเล่นเกมแบบแข่งขัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.05) แต่ในเงื่อนไขการเล่นเกมแบบตาต่อตาฟันต่อฟันกับเงื่อนไขการเล่นเกมแบบร่วมมือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีพฤติกรรมการร่วมมือไม่แตกต่างกัน ส่วนนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่เล่นเกมในเงื่อนไขการเล่นเกมทั้ง 3 มีพฤติกรรมการร่วมมือไม่แตกต่างกัน |
Other Abstract: | The purpose of this research was to study cooperative behavior of freshmen and senior business administration undergraduates. In the experiment, the non-matrix type of the Prisoner’s Dilemma game reward structure with 3 kinds of response condition : cooperative, competitive and TIT-FOR-TAT, was used. The results show that there are significant differences (P<.001) between cooperative behaviors of freshmen and senior students in every kind of response condition. However, further analysis reveals that among the freshmen, cooperative behavior in both the cooperative and TIT-FOR-TAT response condition are significantly high (P<.05) than in the competitive condition. The cooperative behavior in the cooperative condition do not differ significantly from that in the TIT-FOR-TAT condition. For the senior students, three are no differences in cooperative behavior among the three kinds of response condition. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 |
Degree Name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | จิตวิทยาสังคม |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47678 |
ISBN: | 9745828181 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ittisak_in_front.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ittisak_in_ch1.pdf | 9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ittisak_in_ch2.pdf | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ittisak_in_ch3.pdf | 701.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ittisak_in_ch4.pdf | 994.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ittisak_in_ch5.pdf | 359.8 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ittisak_in_back.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.