Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์-
dc.contributor.authorจริยา ดำรงโฆษิต-
dc.contributor.authorชลาลัย นพพรเลิศวงศ์-
dc.contributor.authorทัศนวรรณ มานัสวิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-06-08T23:17:25Z-
dc.date.available2016-06-08T23:17:25Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.otherPsy196B-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48386-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2012en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเห็นคุณค่าในตนเองสูงแบบ ปกป้องตน (เห็นคุณค่าในตนเองแบบเด่นชัดสูงแต่เห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝงต่ำ) กับการมีความเชื่อเหมารวม เจตคติรังเกียจกลุ่ม และแนวโน้มการกีดกันทางสังคมต่อสมาชิกของกลุ่มเชื้อชาติอื่นเมื่อเทียบกับ การเห็นคุณค่าในตนเองสูงแบบมั นคง (เห็นคุณค่าในตนเองแบบเด่นชัดสูงและเห็นคุณค่าในตนเองแบบ แอบแฝงสูง) โดยกลุ่มตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยระดับชัน ปริญญาตรี จำนวน 141 คน (เพศชาย 84 คน เพศหญิง 57 คน อายุเฉลี ย 19.88 ปี) ตอบมาตรวัดการเห็นคุณค่าในตนเองแบบเด่นชัด ทำการทดสอบการ เชื่อมโยงการเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝง ตอบมาตรความเชื่อเหมารวมต่อชาวกัมพูชา การทดสอบการเชื่อมโยงเจตคติรังเกียจกลุ่มต่อชาวกัมพูชาแบบแอบแฝง มาตรวัดเจตคติรังเกียจกลุ่มต่อชาวกัมพูชาแบบ เด่นชัด และมาตรวัดแนวโน้มการกีดกันทางสังคมต่อชาวกัมพูชา ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงชัน แสดงให้เห็นว่า ผู้เห็นคุณค่าในตนเองแบบปกป้องตนรายงานเจตคติ รังเกียจกลุ่มแบบเด่นชัดต่อชาวกัมพูชา สูงกว่าผู้เห็นคุณค่าในตนเองสูงแบบมั่นคงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้เห็นคุณค่าในตนเองสูงแบบปกป้องตนยังมีแนวโน้มเห็นด้วยกับการแสดงพฤติกรรมกีดกันทางสังคมต่อชาว กัมพูชาในสถานการณ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียน มากกว่าผู้เห็นคุณค่าในตนเองสูงแบบมั่นคงen_US
dc.description.abstractalternativeThe current study examines relationships between defensive (individuals with high explicit but low implicit self-esteem) and secure high self-esteem (individuals with high explicit and implicit self-esteem), and racial stereotype, prejudice, and discrimination inclination. One hundred and fourty-one undergraduate students (84 males, 57 females, average age 19.88 years), completed measures of explicit self-esteem, an implicit association test of implicit self-esteem, stereotype toward Cambodian, an implicit association test of implicit prejudice toward Cambodian, an explicit prejudice measure, and a measure of discrimination inclination against Cambodian. Hierarchical regression analyses indicated that participants with defensive high self-esteem showed higher explicit prejudice against Cambodian as compared to those with secure high selfesteem. Inidividuals with defensive high self-esteem also showed a trend of reporting stronger discrimination inclination against Cambodian in non-academic situations, as compared to their secure high self-esteem counterparts.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความนับถือตนเองen_US
dc.subjectคตินิยมเชื้อชาติen_US
dc.subjectSelf-esteemen_US
dc.subjectRacismen_US
dc.titleการทำนายความเชื่อเหมารวมทางเชื้อชาติ เจตคติรังเกียจกลุ่ม และแนวโน้มการกีดกันทางสังคม โดยใช้การเห็นคุณค่าในตนเองแบบเด่นชัดและแบบแอบแฝงen_US
dc.title.alternativePREDICTING RACIAL STEREOTYPE, PREJUDICE, AND DISCRIMINATION INCLINATION USING EXPLICIT AND IMPLICIT SELF-ESTEEMen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorwatcharaporn.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jariya_du.pdf722.18 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.