Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48544
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์-
dc.contributor.advisorมยุรี จารุปาณ-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ ศรีสำอางค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T08:08:04Z-
dc.date.available2016-06-09T08:08:04Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745692301-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48544-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างกลุ่มของตัวแปรอิสระร่วมกันจากองค์ประกอบด้านลักษณะของนักเรียน ลักษณะของครู และสภาพแวดล้อมในโรงเรียน กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านวิชาการและด้านที่ไม่ใช่วิชาการของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยได้มาจากโครงการวิจัยเรื่อง "ประสิทธิภาพของการมัธยมศึกษา" ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ 255 โรง มีครูทั้งหมด 14,065 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 18,364 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10,712 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลและใช้โรงเรียนเป็นหน่วยวิเคราะห์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวแปรอิสระร่วมกันจากองค์รปะกอบด้านลักษณะของนักเรียน ลักษณะของครู และสภาพแวดล้อมในโรงเรียน กับกลุ่มของตัวแปรตามร่วมกันจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านวิชาการและด้านที่ไม่ใช่วิชาการ มีความ มีความสัมพันธ์กันสูงสุดได้ค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลเท่ากับ .8772 ที่ระดับนัยสำคัญ .01 เกิดจากกลุ่มของตัวแปรตามที่มีน้ำหนักมากที่สุดคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านวิชาการ และกลุ่มของตัวแปรอิสระร่วมกันที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุดคือตัวแปรจากองค์ประกอบด้านลักษณะของนักเรียน ได้แก่ พื้นความรู้เดิม 2. ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มของตัวแปรอิสระร่วมกันจากองค์ประกอบด้านลักษณะของนักเรียน ลักษณะของครู และสภาพแวดล้อมในโรงเรียน กับกลุ่มของตัวแปรตามร่วมกันจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านวิชาการและด้านที่ไม่ใช่วิชาการ มีความสัมพันธ์กันสูงสุดได้ค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลเท่ากับ .9178 ที่ระดับนัยสำคัญ .01 เกิดจากกลุ่มของตัวแปรตามร่วมกันที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุดคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านวิชาการ และกลุ่มของตัวแปรอิสระร่วมกันที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุดคือ ตัวแปรจากองค์ประกอบด้านลักษณะของนักเรียน ได้แก่ การได้รับความช่วยเหลือด้านการเรียนจากทางบ้านen_US
dc.description.abstractalternativeThis research was designed to study the canonical relationship between students' characteristics, teachers' characteristics, school environments and academic learning achievement, non-academic learning achievement. The data obtained from "The Efficiency of secondary Education Research Project" of Office of the National Educational Commission (NEC). The samples were 255 secondary schools which had 14,065 teachers, 18,364 Mathayom Suksa three students and 10,712 Mathayom Suksa six students. The collected data were analyzed by canonical correlation analysis techniques. A school was used as unit of analysis. The findings were: 1. In Mathayom Suksa three, the highest canonical correlation coefficient between students' characteristics, teachers' characteristics, school environments and academic learning achievement, non-academic learning achievement was .8772 and statistically significant at ∝ = .01. The variables which the highest loading in the group of dependent variables was academic learning achievement and in the group of independent variables was students' characteristics as the previous learning achievement. 2. In Mathayom Suksa six, the highest canonical correlation coefficient between students' characteristics, teachers' characteristics, school environments and academic learning achievement, non-academic learning achievement was .9178 and statistically significant at ∝ = .01. The variables which the highest loading in the group of dependent variables was academic learning achievement and in the group of independent variables was students' characteristics as the student's parents help for learning at home.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความสัมพันธ์เชิงคาโนนิคอลระหว่างองค์ประกอบด้านลักษณะของนักเรียน ลักษณะของครู และสภาพแวดล้อมในโรงเรียน กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeCanonical relationship between students' characteristics, teachers' characteristics, school environments and learning achievement of secondary school students in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomwung.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirilak_sri_front.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Sirilak_sri_ch1.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Sirilak_sri_ch2.pdf7.16 MBAdobe PDFView/Open
Sirilak_sri_ch3.pdf4.21 MBAdobe PDFView/Open
Sirilak_sri_ch4.pdf7.34 MBAdobe PDFView/Open
Sirilak_sri_ch5.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open
Sirilak_sri_back.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.