Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48568
Title: Simulation of oil-loss in storage tanks
Other Titles: การจำลองการสูญหายของน้ำมันในถังจัดเก็บ
Authors: Wanlop Wannawanich
Advisors: Tawatchai Charinpanitkul
Pradit Silpsrikul
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Subjects: Oil loss
การจำลองระบบ
ปิโตรเลียม
Issue Date: 1996
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A Simulation of oil loss in storage tank, written in Visual Basic language, is developed in this work. This simulation is a tool for calculating typical oil loss from three types of tank with true vapor pressure ranging from 6 to 10 psia, in normal working condition. Categories of tank considered here are internal floating roof tank, external floating roof tank, and fixed roof tank with diameter of 20 to 120 feet. To operate the simulation program, data of average temperature, wind speed, tank characteristics, product characteristics and throughput volume could be input by users or retrieved from a database prepared previously. Graphical comparison between loss from the developed program and that from another program indicates that the estimation of the developed program is higher than that of another program but becomes closer to the data reported presently. This improvement is due to consideration of many parameters having influences on evaporation loss of oil in the storage.
Other Abstract: ในการศึกษานี้เป็นการพัฒนาโปรแกรมจำลองการสูญหายของน้ำมันในถังจัดเก็บ โดยใช้ภาษา วิชวลเบสิก โปรแกรมนี้สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการคำนวณค่าการสูญหายที่สภาวะปกติของน้ำมันเบนซิน ที่มีค่าความดันระหว่าง 6-10 psia ที่เก็บในถังที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 20-120 ฟุต 3 ประเภท ซึ่งได้แก่ ถังประเภทที่มีหลังคารูปกรวยปิด (fixed roof tank) ถังประเภทหลังคาลอย (external floating roof tank) และถังประเภทหลังคาปิดมีแพลอย (internal floating roof tank) การประมวลผลโปรแกรมการจำลองการสูญหายของน้ำมัน ที่สร้างขึ้นสามารถทำได้โดยการป้อนค่าตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการเกิดการสูญหายในถังเก็บแต่ละประเภท เช่น อุณหภูมิเฉลี่ย, ค่าความเร็วลม, อุปกรณ์ต่างๆ ของถัง, ชนิดของน้ำมันที่เก็บปริมาตรของน้ำมันที่มีการจ่ายออกจากถัง เป็นต้น หรือนำข้อมูลที่ได้มีการบันทึกไว้มาประมวลค่าการสูญหาย จากการเปรียบเทียบจากกราฟระหว่างผลการประมาณปริมาณการสูญหายจากโปรแกรมที่ได้มีการพัฒนาขึ้น และผลการประมาณปริมาณการสูญหายจากโปรแกรมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน จะพบว่าการประมาณการจากโปรแกรมที่ได้มีการพัฒนาขึ้นมีค่าสูงกว่าการประมาณการจากโปรแกรมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และมีผลที่ใกล้เคียงกับค่าที่บันทึกไว้ในรายงานจากการปฏิบัติงานจริงมากกว่า เนื่องจากได้มีการคำนึงถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีผลกับการสูญหายของน้ำมันในถังจัดเก็บได้ครอบคลุมกว่าเดิม
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1996
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48568
ISBN: 9746338641
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanlop_wan_front.pdf622.1 kBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_ch1.pdf282.86 kBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_ch2.pdf606.45 kBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_ch3.pdf577.61 kBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_ch4.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_ch5.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_ch6.pdf222.85 kBAdobe PDFView/Open
Wanlop_wan_back.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.