Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48791
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorครรชิต ผิวนวล-
dc.contributor.authorวิชาญ เอกรินทรากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-10T07:40:19Z-
dc.date.available2016-06-10T07:40:19Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745795259-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48791-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบขนส่งสาธารณะภายในพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แต่ประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆ ได้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะต่างๆ ของระบบฯ รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ของการเลือกรูปแบบการเดินทาง กับตัวแปรสะท้อนสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม และนโยบายของรัฐ แบบจำลองรูปแบบการเดินทางที่พัฒนาขึ้นเป็นแบบสับเปลี่ยนกัน (Trip interchange Modal Split Model) โดยแบ่งพื้นที่ศึกษาออกเป็นพื้นที่ย่อย วิเคราะห์ปริมาณการเดินทางระหว่างพื้นที่ย่อยโดยแต่ละรูปแบบ และศึกษาค่าใช้จ่ายกับเวลาที่ใช้ในการเดินทางของยวดยานระบบต่างๆ จากนั้นจึงอาศัยทฤษฎี Multinomial Logit เพื่อจัดทำ Mode Choice Model ผลการศึกษาแบ่งแยกออกได้ดังนี้ คือ (1) การสรุปอธิบายลักษณะทั้งสาม อันได้แก่ ลักษณะของผู้เดินทาง ลักษณะของการเดินทาง และลักษณะของตัวระบบขนส่ง ซึ่งเป็นตัวกำหนดการใช้รูปแบบการเดินทาง (2) การสรุปอธิบายทัศนคติของผู้เดินทางที่มีต่อระบบขนส่งสาธารณะที่สำคัญ เช่น รถโดยสารประจำทาง และในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงสภาพการจราจร เช่น มาตรการจำกัดการใช้รถยนต์ส่วนตัว และส่งเสริมให้ใช้ระบบขนส่งสาธารณะแทน ปรากฏว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เห็นด้วย (3) ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทาง แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจและสังคม และตัวแปรทางด้านการเดินทาง ซึ่งค่อนข้างมีอิทธิพลมากกว่า จากการทดลองใช้แบบจำลองอธิบาย การเลือกรูปแบบการเดินทางในปัจจุบัน พบว่าจะมีผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัว รถมอเตอร์ไซด์ส่วนตัว รถโดยสารประจำทาง รถแท็กซี่ และอื่นๆ ประมาณร้อยละ 16.1, 9.5, 52.0, 3.2 และ 19.2 ตามลำดับ ซึ่งใกล้เคียงกับผลการสำรวจในโครงการ SIMR ซึ่งคาดว่าจะมีผู้ใช้ประมาณร้อยละ 16.3, 9.4, 41.6,5.0 และ 27.7 ตามลำดับ ฉะนั้นแบบจำลองนี้น่าจะใช้อธิบายการเลือกรูปแบบการเดินทางใน กทม. และพื้นที่ต่างๆ ในประเทศได้อย่างเหมาะสมen_US
dc.description.abstractalternativeThis research is an analytical study of public transport system in Greater Bangkok Area (GBA), with its application is also suitable in other cities. The main purpose is to analyse exciting public transport, trips and patronages characteristics and to study relationship of mode choices related to socio-economic, transport characteristics and government policy variables. The Modal split model was carried out by dividing the study area into traffic zones, analysed trip interchange between zones, analysed travel time and cost for each mode. Finally choice models was formulated by employing multinomial logit theory. The results of study are as follow: (1) Conclusion of the three major characteristics : trip maker, trips and transport system characteristics. (2) Conclusion on public transport opinions survey related to improvement of level of service, frequency of usage and traffic restraint on private car concept. Most of the interviews agreeded and gave positive answers to these questions. (3) Conclusion related to variables influenced mode choices : socio-economic and specific variables which tended to have more influence. Results of the models indicated that trips by private car, motorcycle, bus taxi and others are approximately 16.1%, 9.5%, 52.0%, 3.2% and 19.2 % respectively. The SIMR survey yielded similar results as follows 16.3%, 9.4%.41.6%, 5.0% and 27.7% respectively. Thus, this model is suitable to explain travellers’ mode choices in Bangkok and should be applicable in other cities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleลักษณะการเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativePublic transport trip characteristics in Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wichan_ek_front.pdf799.57 kBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch1.pdf377.77 kBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch2.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch3.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch4.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch5.pdf486.03 kBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch6.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_ch7.pdf762.27 kBAdobe PDFView/Open
Wichan_ek_back.pdf5.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.