Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49028
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิวัตต์ ดารานันทน์ | - |
dc.contributor.author | สวัสดิ์ ลู่ชัยชนะ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-12T02:22:50Z | - |
dc.date.available | 2016-06-12T02:22:50Z | - |
dc.date.issued | 2530 | - |
dc.identifier.isbn | 9745684031 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49028 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าปริมาณตะกอนแขวนลอย (Suspended load) และปริมาณตะกอนทั้งหมด (Total load) กรณีการเคลื่อนที่ของตะกอนในลำน้ำที่ท้องน้ำเป็นทราย ได้ทำการทดสอบในรางน้ำสี่เหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular flume) ซึ่งมีขนาด กว้าง 0.60 ม. ยาว 20.40 ม. และลึก 0.75 ม. ใช้ทรายขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 มม. และค่าการเรียงเม็ดของทราบเท่ากับ 2.134 เป็นวัสดุท้องน้ำ (Bed material) และผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลจากผลการทดลองในรางน้ำของ Simons และ Richardson (1961), Daranandana (1962) และKhuhapinant (1966) ร่วมกับข้อมูลที่ทำโดยผู้ศึกษาในห้องปฏิบัติการชลศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยและปริมาณความเข้มข้นของตะกอนทั้งหมด ซึ่งวัดค่าโดยตรงจากการทดลอง ส่วนที่สองเป็นการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างอัตราการเคลื่อนที่ของตะกอนท้องน้ำ ซึ่งที่ได้จากการทดลองและที่คำนวณได้จากวิธีของ Meyer – Peter และ Muller (1948) และวิธีของ Einstein (1950) การวิเคราะห์จากการศึกษาสามารถบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอย (Cs) และปริมาณตะกอนทั้งหมด (Ct) สำหรับทุกลักษณะท้องน้ำ และสำหรับทรายหลายขนาด อัตราการเคลื่อนที่ของตะกอนท้องน้ำ คำนวณโดยวิธีของ Meyer-Peter และ Muller จะให้ค่าที่ใกล้เคียงกับผลการทดลอง ขณะที่วิธีของ Einstein ให้ผลที่แตกต่างมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับทรายที่มีขนาดเม็ดเฉลี่ยใหญ่กว่า อัตราการเคลื่อนที่ของตะกอนทั้งหมด ซึ่งคำนวณโดยวิธีของ Einstein แสดงค่าผิดพลาด 10 ถึง 20% เมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดลอง | en_US |
dc.description.abstractalternative | A study of the relationship between the suspended load and the total load on the transportation of the sediment in alluvial channels was carried out in a recirculating rectangular flume. The flume was 0.60 m. wide, 20.40 m. long, and 0.75 m. deep. The bed material was sand with a median diameter of 0.70 mm and a measure of gradation of sand was 2.134. Data obtained from flume experiments by Simons and Richardson (1961), Daranandana (1962) and Khuhapinant (1966) were used in addition to the data collected by the writer from flume experiments in the hydraulic laboratory of the Civil Engineering Department. The study was divided into two parts. The first part was directed towards finding the relationship between the concentration of suspended load and total load which were measured directly from the tests. The second part of the study was the comparison between the rate of bed material transport which was obtained from the computation using Meyer-Peter and Muller’s method (1948) and Einstein’s method (1950). An analysis of the study reveals a close relationship between the concentration of suspended sediment load (Cs) to the total load (Ct), for all bed forms and various sizes. Such relationships are expressed in the forms of empirical equations of Cs versus Ct Bed material transport rate, computed from Meyer-Peter and Muller’s equations has shown close results to that measured form the experiments, while Einstein’s method has shown al larger deviation, especially for sand of bigger mean diameter. The total bed material discharge which was computed by Einstein’s method indicated an error of 10 to 20 % as compared with the experimental results. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ตะกอน -- การเคลื่อนที่ | en_US |
dc.subject | มวลบนพื้นท้องน้ำ | en_US |
dc.subject | ตะกอนแขวนลอย | en_US |
dc.title | การศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอนในรางน้ำเปิดโดยใช้ทรายที่มีขนาด และการเรียงเม็ดที่กำหนดให้เป็นวัสดุท้องน้ำ | en_US |
dc.title.alternative | Flume study of sediment transportation using sand of a given size and gradation as bed meterial | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sawat_lu_front.pdf | 10.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sawat_lu_ch1.pdf | 5.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sawat_lu_ch2.pdf | 5.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sawat_lu_ch3.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sawat_lu_ch4.pdf | 4.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sawat_lu_ch5.pdf | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sawat_lu_back.pdf | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.