Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49061
Title: การพัฒนาโปรแกรมระบบเชี่ยวชาญ โดยใช้กรณีศึกษาการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ แบบพัฒนา
Other Titles: Development of expert system program using case study in intensive shrimp farming
Authors: สมศักดิ์ ยศสมบัติ
Advisors: ยรรยง เต็งอำนวย
เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Yunyong.T@Chula.ac.th
piamsak@sc.chula.ac.th
Subjects: ระบบผู้เชี่ยวชาญ (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
Expert systems (Computer science)
Issue Date: 2531
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยในหัวข้อนี้เป็นการนำเทคโนโลยีสาขาหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์มาใช้งานด้านการเกษตรโดยนำเอาหลักการต่าง ๆ ของระบบเชี่ยวชาญมาใช้สำหรับกรณีศึกษาให้คำปรึกษาที่อาจจะเกิดขึ้นในการเพราะเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนา ระบบเชี่ยวชาญนี้ให้ชื่อว่า SFES (Shrimp Farming Expert System) เป็นระบบเชี่ยวชาญที่พัฒนาขึ้นโดยอาศัยแนวทางการพัฒนาของระบบต้นแบบตัวอย่างคือ ระบบเชี่ยวชาญ MYCIN ที่ใช้งานด้านการแพทย์ ระบบ SEFS นี้ ใช้การแทนค่าความรู้แบบพื้นฐานในรูปของ object – attribute – value ซึ่งจะประกอบกันเป็นกฎความรู้ โดยสัมพันธ์กับเนื้อความ และพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในฐานความรู้ตามกฎเกณฑ์และประสบการณ์ที่มีจริงสำหรับศาสตร์ด้านการเพราะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ การหาเหตุผลจะใช้วิธีการหาเหตุผลแบบย้อนหลังโดยเริ่มจากเป้าหมายและอาศัยข้อมูลต่าง ๆ จากการโต้ตอบกับผู้ใช้จนกระทั่งระบบสามารถวินิจฉัยสาเหตุและระบุวิธีการแก้ไข ชอบเขตปัญหาสำหรับระบบ SFES ที่สร้างมี 3 ส่วนคือ การเพาะพันธุ์ลูกกุ้ง การจัดการบ่อและอาหาร โรคของกุ้ง ระบบ SFES ใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ VAX 11/750 และภาษา Franz Lisp นับได้ว่าการพัฒนาระบบ SFES นี้เป็นจุดเริ่มตันในการนำความรู้และเทคโนโลยีทางด้านระบบเชี่ยวชาญมาใช้งานด้านการเกษตรกรรมซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
Other Abstract: The research topic involves application of expert system techniques to agriculture. The system can give consultation to the intensive shrimp farming for Penaeus monodon. This system is called SFES (Shrimp Farming Expert System) which uses the same concepts as MYCIN, a medical expert system. The knowledge representation is in the form of object-attribute-value triplets which combine into expert rules that related to contexts and parameters based upon knowledge and experiences in shrimp farming. Reasoning method is backward chaining and use in situ information obtained from user interactively until diagnosis and treatment can be formed. The scope of shrimp farming problems for SFES consists of 3 parts, i.e. larval rearing, pond management and feeding, and shrimp disease. SFES is developed on minicomputer system VAX 11/750 using Franz Lisp.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49061
ISBN: 9745688207
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_yo_front.pdf10.34 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_yo_ch1.pdf13.46 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_yo_ch2.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_yo_ch3.pdf9.45 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_yo_ch4.pdf6.45 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_yo_ch5.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_yo_back.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.