Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49062
Title: การศึกษาผลกระทบจากการขยายท่าอากาศยานกรุงเทพฯ ที่มีต่อพื้นที่โดยรอบเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาพื้นที่ในอนาคต
Other Titles: A study of impacts of the Bangkok international airport expansion on surrounding area : implications for future spatial development
Authors: สรวุฒิ มณฑลโสภณ
Advisors: คมสัน ศุขสุเมฆ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: ท่าอากาศยาน
Airports
Issue Date: 2531
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงผลกระทบจากการขยายท่าอากาศยานกรุงเทพฯ ที่มีต่อพื้นที่โดยรอบ เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาพื้นที่ในอนาคต ผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบจากการขยายท่าอากาศยานกรุงเทพฯ ฝั่งตะวันตกที่สำคัญ ได้แก่ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชนและการคมนาคมขนส่ง ซึ่งผลกระทบดังกล่าวจะเกิดขึ้นทั้งในและนอกของพื้นที่โครงการ ฯ ดังเช่น การเวนคืนที่ดินและโยกย้ายประชากรออกนอนพื้นที่ การวางแผนพัฒนาพื้นที่และสภาพแวดล้อม ตลอดจนโครงข่ายของการคมนาคมขนส่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดต่อสภาพแวดล้อม อีกทั้งเอื้ออำนวยต่อการพัฒนาพ้นที่ในอนาคต สำหรับแนวทางพัฒนาพื้นที่โดยรอบท่าอากาศยานฯ มีหลักสำคัญกำหนดได้ดังนี้ 1. ให้การเจริญเติบโตของชุมชนในอนาคตเป็นแบบหลายศูนย์กลาง (Poly – Centric) 2. ให้รูปแบบของโครงข่ายถนนเป็นแบบตารางเหลี่ยม (Grid Pattern) ซึ่งกำหนดประเภทและหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน 3. ควบคุมสภาวะแวดล้อมและกรใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ แบ่งเป็นบริเวณ (Zone) ซึ่งในแต่ละบริเวณจะกำหนดลักษณะของกิจกรรมและสิ่งปลูกสร้างที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
Other Abstract: The study is aimed to investigate impacts of the expansion of Bangkok International Airport on surrounding area in order to draw guidelines for development planning in the future. It is founded that physical environment and transportation network both inside and outside the project are main areas of impacts caused by the expansion of the airport toward the west upon activities such as land expropriation and population evacuation. Spatial planning of the surrounding area needs to consider to reduce the impacts as well as to facilitate future development. The following guidelines are suggested : 1. the growth of the community is on poly-centric basis, 2. grid system is applied for pattern of transportation network of which types and functions are clearly defined, and 3. land-use and physical environment is controlled by zoning that characteristics of activities and construction are also defined in each zone.
Description: วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531
Degree Name: การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การวางแผนภาคและเมือง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49062
ISBN: 9745696315
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Soravut_mo_front.pdf16.78 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch1.pdf7.39 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch2.pdf5.42 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch3.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch4.pdf10.6 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch5.pdf21.74 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch6.pdf8.13 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch7.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_ch8.pdf9.53 MBAdobe PDFView/Open
Soravut_mo_back.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.