Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.authorกนกวรรณ สาธุอยู่ศิริกุล-
dc.contributor.authorธนิตา สถาพร-
dc.contributor.authorเรณุกา ทองเนียม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-06-12T10:21:43Z-
dc.date.available2016-06-12T10:21:43Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.otherPsy 196A-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49066-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2012en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสัมพันธ์ระหว่าง การคิดทางบวกความสุข และความวิตกกังวลในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีที่ได้รับการฝึกการฝึกเจริญสมาธิแบบเมตตา กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 69 คน (ชาย24คน หญิง 45 คน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดการคิดทางบวกมาตรวัดความสุข แบบวัดความวิตกกังวล โปรแกรมการฝึกการเจริญสติแบบเมตตา วิเคราะห์ข้อมูลโดย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบซ้ำ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า (1) การคิดทางบวกมีสหสัมพันธ์ทางบวกกับความสุขอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (2) การคิดทางบวกมีสหสัมพันธ์ทางลบกับความวิตกกังวลต่อสภาพการณ์ และความวิตกกังวลที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (3) คะแนนการคิดทางบวก ความสุข และความวิตกกังวลทั้งสองแบบของกลุ่มตัวอย่างในการวัดครั้งที่ 1 (ก่อนการฝึกการเจริญสมาธิแบบเมตตา) การวัดครั้งที่ 2 (หลังการฝึกการเจริญสมาธิแบบเมตตาครั้งที่ 3) และการวัดครั้งที่ 3 (หลังเสร็จสิ้นการฝึกการเจริญสมาธิแบบเมตตา) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (4) คะแนนความสุขและคะแนนความวิตกกังวลทั้งสองแบบระหว่างผู้ที่มีคะแนนการคิดทางบวกสูงและผู้ที่มีการคิดทางบวกการวัดครั้งที่ 1 การวัดครั้งที่ 2 และการวัดครั้งที่ 3 ไม่มีความแตกต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to the relationship among positive thinking, happiness and anxiety of Participants included 69 undergraduate students practice Loving Kindness Mediation. The instruments were Positive Thinking Questionnaire, Happiness Scale and State-Trait Anxiety Inventory (form Y). The data were analyzed by using Pearson’s correlation, One-way ANOVA Repeated and Two-way ANOVA Repeated. Results showed that: 1. Positive Thinking significantly positive correlates with happiness (p< .001). 2. Positive Thinking significantly negative correlates with State anxiety and Trait anxiety (p< .001). 3. Positive Thinking, Happiness, State anxiety and Trait anxiety score before practicing Loving Kindness Meditation significantly different with after practicing Loving Kindness Meditation. (p< .05) 4. Happiness, State anxiety and Trait anxiety score has no different between high positive thinking participants and low positive thinking participants in preliminary, middle and final measurement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสมาธิen_US
dc.subjectอารมณ์en_US
dc.subjectSamadhien_US
dc.subjectEmotionsen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการคิดทางบวกความสุข และความวิตกกังวลในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีที่ได้รับการฝึกการเจริญสมาธิแบบเมตตาen_US
dc.title.alternativeRELATIONSHIPS AMONG POSITIVE THINKING, ANXIETY, AND HAPPINESS OF UNDERGRADUATE STUDENTS PRACTICE LOVING KINDNESS MEDITATIONen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorArunya.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanokwan_sa.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.