Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuwattana Thadanitien_US
dc.contributor.authorPanta Yongnarongdetkulen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate Schoolen_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:40:21Z-
dc.date.available2016-11-30T05:40:21Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49969-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractThis research studied and analyzed the existing landscape management in Bang Nam Pueng sub district and applied the principles of sustainable landscape management using an ecosystem-based approach. The results proposed recommendations and strategies for the future planning of sustainable landscape management in the study area. Field research, in-depth interviews and focus groups including physical and human observations were used for data collection. Results determined that Bang Nam Pueng sub district had many diverse habitats including freshwater, estuarine and brackish water ecosystems which offered biodiversity on both the micro and macro scales. Meanwhile, Bang Nam Pueng sub district is currently experiencing environmental issues from wastewater problems, the degeneration of the soil by wastewater, reducing of quality and quantity of agricultural products, the intrusion of tidal sea water, the changing of land utilization, the decreasing of mangrove forest resulting in less protection from the Militia Sea. The increased salinity has produced an alkaline soil and the brine has caused both plant and animal diseases. Plant disease has also increased from the discharge of community wastewater. Local people and the Administration Organization of Bang Nam Pueng sub district are currently focusing their effects on wastewater treatment, but the change in the ecosystem is still ongoing. Hence, to sustain the ecosystems of Bang Nam Pueng sub district sustainable landscape management must be implemented, using an ecosystem-based approach to apply action plan strategies. The development and management of Bang Nam Pueng sub district can successfully interweave functional green infrastructure with new developments, while ensuring that the existing natural resources are retained. The functional connectivity of the area in and around the new developments will be increased by the creation of new habitats on previously ecologically denuded land. This approach could increase biodiversity and ecosystem development. The promotion of sustainable landscape management using an ecosystem-based approach for the development of Bang Nam Pueng sub district could enhance synergy between social, economic, and environmental aspects, and lead to success in sustainability.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การจัดการทางภูมิทัศน์ของตำบลบางน้ำผึ้ง และประยุกต์ใช้หลักการของการจัดการภูมิทัศน์อย่างยั่งยืนโดยใช้แนวทางพื้นฐานทางระบบนิเวศวิทยาเข้ากับพื้นที่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอข้อเสนอแนะและกลยุทธ์เพื่อการวางแผนเกี่ยวกับของการจัดการทางภูมิทัศน์ที่ยั่งยืนของพื้นที่ศึกษา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มกับประชาชนในชุมชน ผู้นําชุมชน บุคคลในองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำผึ้งและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากหน่วยงานและองค์กรต่างๆ รวมไปถึงการใช้วิธีการสังเกตการณ์จากมนุษย์และธรรมชาติ ผลจากการวิจัยพบว่าระบบนิเวศของตำบลบางน้ำผึ้งมีความสำคัญและมีความหลากหลาย ซึ่งเกิดขึ้นจากการอยู่รวมกันของระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำเค็มและระบบนิเวศระบบนิเวศน้ำกร่อย ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายของตำบลบางน้ำผึ้งทำให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทั้งในระดับจุลภาคและในระดับมหภาค ในขณะเดียวกัน ตำบลบางน้ำผึ้งกำลังเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมซี่งเกิดขึ้นจากปัญหาน้ำเสีย ซึ่งกระทบต่อความอุดมสมบรูณ์ของดินและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติในตำบลบางน้ำผึ้งส่วนใหญ่มาจากการขยายตัวของเมืองกรุงเทพมหานครและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่ตำบลบางน้ำผึ้ง การลดลงของพื้นที่ป่าชายเลนส่งผลกระทบต่อเขตอนุบาลสัตว์น้ำและพื้นที่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง รวมไปถึงภัยคุกคามจากปัญหาการรุกล้ำของน้ำเค็มซึ่งส่งผลให้สภาพดินเป็นดินเค็ม ซึ่งก่อให้เกิดการระบาดของโรคพืชและสัตว์ ในขณะที่ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมยังคงเพิ่มขึ้น เพื่อการรักษาขีดความสามารถในการให้บริการของระบบนิเวศและทรัพยากรทางธรรมชาติของตำบลบางน้ำผึ้ง งานวิจัยครั้งนี้จึงนำเสนอการประยุกต์ใช้หลักการของการจัดการภูมิทัศน์อย่างยั่งยืนโดยใช้แนวทางพื้นฐานทางระบบนิเวศวิทยาเข้ากับพื้นที่ และเสนอกลยุทธ์การดำเนินการที่เหมาะสมในการพัฒนาและการจัดการของตำบลบางน้ำผึ้ง การประยุกต์ใช้หลักการของการจัดการภูมิทัศน์อย่างยั่งยืนโดยใช้แนวทางพื้นฐานทางระบบนิเวศวิทยาเข้ากับพื้นที่สามารถเสริมสร้างความผสมผสานระหว่างระบบนิเวศเดิมที่มีอยู่ของพื้นที่กับการพัฒนาใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น เป็นการสร้างความมั่นใจต่อพื้นที่ว่าทรัพยากรทางธรรมชาติและระบบนิเวศที่มีอยู่นั้นจะได้รับการอนุรักษ์และเสริมสร้างให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น สรุปได้ว่าการส่งเสริมการจัดการภูมิทัศน์อย่างยั่งยืนโดยใช้แนวทางพื้นฐานทางระบบนิเวศวิทยานั้นสามารถเสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนาและการจัดการของตำบลบางน้ำผึ้ง ซึ่งนับเป็นการเสริมสร้างการทำงานร่วมกันระหว่างสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่​​ความสำเร็จของการพัฒนาอย่างยั่งยืนของพื้นที่ตำบลบางน้ำผึ้งen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleSUSTAINABLE LANDSCAPE MANAGEMENT USING ECOSYSTEM-BASED APPROACH : A CASE STUDY OF BANG NAM PUENG SUB DISTRICT SAMUTPRAKARN PROVINCE, THAILANDen_US
dc.title.alternativeการจัดการภูมิทัศน์อย่างยั่งยืน โดยการใช้แนวทางนิเวศวิทยา : กรณีศึกษา ตำบลบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineEnvironment, Development and Sustainabilityen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSuwattana.T@Chula.ac.th,tsuwattana@yahoo.comen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5587573520.pdf14.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.