Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50397
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorManapol Ekkayokkayaen_US
dc.contributor.authorKorapun Sumetsittikulen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancyen_US
dc.coverage.spatialUnited States
dc.coverage.spatialGreat Britain
dc.date.accessioned2016-12-01T08:06:24Z-
dc.date.available2016-12-01T08:06:24Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50397-
dc.descriptionThesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractThis thesis examines the determinants that affect payment method decisions in mergers and acquisitions in the aspect of takeover regulatory differences between the US and the UK during 1990 to 2014. Two main hypotheses are tested; the risk sharing and the market misvaluation. Meaning that the level of uncertainty and misvaluation (both bidder and target) affect the payment method decisions. The US evidence broadly lends support to these hypotheses because the bidders are the ones who choose the medium of exchange, then offer to the targets. The targets decide whether to take it or leave it. However, these relations are less pronounced in deals involving the UK target as target shareholders have the right to make payment method decisions. Thus, the findings of this thesis taken together suggest that regulatory differences affect payment method decisions diffently.en_US
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนของการควบรวมกิจการ โดยศึกษาในแง่มุมของความแตกต่างด้านกฎข้อบังคับของการครอบงำกิจการ ซึ่งเปรียบเทียบระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึงปี พ.ศ. 2557 สองสมมติฐานหลักที่ใช้ในการศึกษานี้คือการมีส่วนร่วมในความเสี่ยงและการประเมินค่าที่ผิดของตลาด ในที่นี้หมายความว่าระดับของความเสี่ยงและการประเมินค่าที่ผิดของทั้งบริษัทที่จะเข้าควบรวมกิจการและบริษัทที่จะถูกควบรวมกิจการมีผลต่อการตัดสินใจเลือกสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน หลักฐานของประเทศสหรัฐอเมริกาสนับสนุนสมมติฐานทั้งหมดนี้ เนื่องจากบริษัทที่จะเข้าควบรวมกิจการจะเลือกสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน หลังจากนั้นจะเสนอให้บริษัทที่จะถูกควบรวมกิจการพิจารณา บริษัทที่จะถูกควบรวมกิจการจะตัดสินใจว่าจะรับข้อเสนอหรือไม่ อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์นี้มีความชัดเจนน้อยกว่าสำหรับการซื้อขายที่มีความเกี่ยวข้องกับบริษัทที่จะถูกควบรวมกิจการของประเทศสหราชอาณาจักร เพราะผู้ถือหุ้นของบริษัทที่จะถูกควบรวมกิจการสามารถทำการตัดสินใจในการเลือกสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ดังนั้น ผลการวิจัยของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เมื่อนำมารวมกันแล้วชี้ให้เห็นว่า ความแตกต่างของกฎข้อบังคับมีผลต่อการตัดสินใจเลือกสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแตกต่างกันen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.86-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectExchange
dc.subjectConsolidation and merger of corporations -- United States
dc.subjectConsolidation and merger of corporations -- Great Britain
dc.subjectการแลกเปลี่ยน
dc.subjectการรวมกิจการ -- สหรัฐอเมริกา
dc.subjectการรวมกิจการ -- สหราชอาณาจักร
dc.titleTAKEOVER REGULATIONS AND THE MEDIUM OF EXCHANGEen_US
dc.title.alternativeกฎข้อบังคับของการควบรวมกิจการและสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineFinanceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorManapol.E@Chula.ac.th,manapol@cbs.chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.86-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5682904826.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.