Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยชนะ นิ่มนวลen_US
dc.contributor.authorจอมขวัญ นามสูตรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:09:02Z-
dc.date.available2016-12-01T08:09:02Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50519-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีรูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่ง เพื่อศึกษาหาความชุก ความสัมพันธ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมรุนแรง และศึกษาความแตกต่างของภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยโรคจิตเภททั่วไปและผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีคดี ที่เข้ามารับการรักษาในสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ามารับการรักษาในสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ จำนวน 140 คน โดยใช้แบบคัดลอกข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม (ฉบับปรับปรุงภาษาไทย) แบบประเมินอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเภท และแบบประเมินพฤติกรรมรุนแรง และสถิติที่ใช้ ได้แก่ Descriptive Statistic, Chi – Square Test และ Logistic Regression Analysis ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยโรคจิตเภทมีภาวะซึมเศร้า (46.4%) และมีพฤติกรรมรุนแรง (32.9%) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมรุนแรงอยู่ในระดับต่ำ มีค่า Phi เท่ากับ 0.11 และมีสัดส่วนของการมีภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมรุนแรงในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีคดีความสูงกว่ากลุ่มผู้ป่วยจิตเภททั่วไป เป็น 1.9 (OR = 1.9, x2 = 2.76, p-value = 0.097) และ1.3 เท่า (OR = 1.3, x2 = 0.55, p-value = 0.459) แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ตามลำดับ ซึ่งการมีอาการข้างเคียงของยา สัมพันธภาพในครอบครัว และการสนับสนุนทางสังคมสามารถทำนายการเกิดภาวะซึมเศร้าได้ และปัจจัยที่ทำนายการเกิดพฤติกรรมรุนแรง ได้แก่ การดื่มสุราและประวัติการฆ่าตัวตายen_US
dc.description.abstractalternativeThe aims of this Cross-sectional descriptive study were to explore prevalence, relationship, and related factors of depression and violent behavior. Including to research about difference of depression and violent behavior both schizophrenia patients and forensic schizophrenia patients at Galya Rajanagarindra Institute. The data were collected from 140 schizophrenia patients. Questionnaire included: 1) Copying data from patient records; 2) General background; 3) Revised-Thai version of the Multi-dimensional Scale of Perceived Social Support (r-T-MSPSS); 4) The Thai version of Calgary Depression Scale for Schizophrenia (CDSS); 5) Overt Aggression Scale (OAS). Data were analyzed by Descriptive Statistic, Chi – Square Test and Logistic Regression Analysis. The Results showed that Schizophrenia patients had depression (46.4%) and violent behavior (32.9%). The strength of relationship between depression and violent behavior was low with Phi value at 0.11. Forensic schizophrenia patients had higher likelihood of having depression also violent behavior than these without 1.9 (OR = 1.9, x2 = 2.76, p-value = 0.097) and 1.3 times (OR = 1.3, x2 = 0.55, p-value = 0.459), respectively. Side effects of medicines, family’s relationship, and social support could predict depression as well as associated factors with violent behavior were alcohol and suicide.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมรุนแรง ของผู้ป่วยโรคจิตเภท ที่เข้ามารับการรักษาในสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์en_US
dc.title.alternativeDepression and Violent Behavior of Schizophrenia Patientsat Galya Rajanagarindra Instituteen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChaichana.N@Chula.ac.th,chekov2005@gmail.comen_US
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5774011130.pdf4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.