Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50578
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสกสรร เกียรติสุไพบูลย์en_US
dc.contributor.authorปริยากร มณีกูลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:09:57Z
dc.date.available2016-12-01T08:09:57Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50578
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่อการอนุมานเชิงสถิติแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับในการจัดพอร์ตการลงทุน งานวิจัยนี้ดำเนินการศึกษาโดยทดลองจัดพอร์ตการลงทุนในข้อมูลจำลองตามหลักการค่าเฉลี่ยความแปรปรวนของมาร์โควิทซ์และประมาณค่าคาดหวังของแบบมีเงื่อนไขของผลตอบแทนที่มาจากตัวแบบปัจจัยเดียวด้วยเทคนิคปริพันธ์เวียนเกิด จากนั้นทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดพอร์ตการลงทุนด้วยค่าประมาณอรรถประโยชน์ ในการจัดพอร์ตการลงทุน 3 กรณีคือ การจัดพอร์ตการลงทุนแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับที่นำเสนอ การจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้ข้อมูลการแจกแจงก่อน และการจัดพอร์ตการลงทุนที่ใช้ข้อมูลผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง ผลการศึกษาพบว่าการจัดพอร์ตการลงทุนแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับจะให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่าการจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้ข้อมูลการแจกแจงก่อน และให้ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับการจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้ข้อมูลผลตอบแทนจริงของหลักทรัพย์ โดยประสิทธิภาพของการจัดพอร์ตการลงทุนแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับจะใกล้เคียงกับการจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้ข้อมูลผลตอบแทนจริงของหลักทรัพย์มากขึ้นเมื่อหลักทรัพย์มีจำนวนมากขึ้น ส่วนผลกระทบของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพของการจัดพอร์ตการลงทุนจะเห็นแนวโน้มการลดลงของประสิทธิภาพเฉพาะในพอร์ตการลงทุนที่มีจำนวนหลักทรัพย์มาก โดยผู้วิจัยได้ทำการทดลองจัดพอร์ตการลงทุนแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับกับข้อมูลจริงในข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสหรัฐอเมริกาในช่วงปี ค.ศ.1900 ถึงปี ค.ศ.2015 และพบว่าการจัดพอร์ตการลงทุนแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับที่ถูกต้องให้ประสิทธิภาพการจัดพอร์ตการลงทุนสูงกว่าการจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้ข้อมูลการแจกแจงก่อน นอกจากนี้เมื่อปรับค่าคาดหวังของผลตอบแทนด้วยค่าความเชื่อมั่นต่อความถูกต้องของข้อมูลประกอบเชิงอันดับที่เหมาะสม การนำข้อมูลประกอบเชิงอันดับผลตอบแทนในอดีตมาประกอบการจัดพอร์ตการลงทุนแบบมีนโยบายขายชอร์ตจะให้ประสิทธิภาพการจัดพอร์ตการลงทุนสูงกว่าการจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้ข้อมูลการแจกแจงก่อนen_US
dc.description.abstractalternativeThis paper investigates the effects of correlation coefficient on rank based statistical inference in portfolio optimization. We perform Markowitz mean-variance portfolio optimization experiments on asset return data simulated from a one-factor model. Conditional expected asset returns are estimated by the recursive integration technique. A comparison study among the three models, the proposed rank based model, the prior model and the clairvoyance model, is done at different levels of the correlation coefficients with certainty equivalent return as the performance measure. Our results show that the rank based model significantly outperforms the prior model by a large margin and closely tracks the clairvoyance model performance. The performance of the rank based model approaches that of the clairvoyance model as the number of assets increases. In the case of large number of assets, deterioration of the performance of the rank based model is observed as the correlation coefficient increases. Applying the proposed methodology to real data sets from US stock markets between 1990 and 2015, we find that, with a correct ranking, the rank based model outperforms the prior model as predicted by the simulation results. With a historical ranking, allowing short sell, the rank based model can outperform the prior model when the confidence level parameter is appropriately adjusted.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.973-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารบัญชีเงินลงทุน -- ระเบียบวิธีทางสถิติ
dc.subjectการลงทุน -- ระเบียบวิธีทางสถิติ
dc.subjectPortfolio management -- Statistical methods
dc.subjectInvestments -- Statistical methods
dc.titleผลกระทบของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่อการอนุมานเชิงสถิติแบบมีข้อมูลประกอบเชิงอันดับในการจัดพอร์ตการลงทุนen_US
dc.title.alternativeEffects of correlation coefficient on rank based statistical inference in portfolio optimizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSeksan.K@Chula.ac.th,seksan@cbs.chula.ac.th,seksan@cbs.chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.973-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5781546726.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.