Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50581
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNarapong Srivisalen_US
dc.contributor.authorNachanok Punyavirochaen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancyen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:10:00Z-
dc.date.available2016-12-01T08:10:00Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50581-
dc.descriptionThesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractAccording to behavioral finance, negative emotions drives negative sentiment that affects the decision to invest and may affect asset pricing. In this study we examine the effect of aviation disasters on the movement of the stock return of both the crashing airline and the competitor of the crashing airline over 50 years period, in order to detect the significant movement to form a profitable portfolio right after the crash happens. Moreover, we also study how the cumulative abnormal return of the portfolio and the crashing airline's stock would change due to various conditions. From the evidence, we find that there is a significant decrease in the cumulative abnormal return of the crashing airline and a significant increase in the cumulative abnormal return in the competitors’ airline’s stocks. Moreover, we also found an evidence that there is an increase in the cumulative abnormal return of the crashing airline as the crash happens further away from the stock market that the crashing airline's stock is listed. This could be inferred that people feel less emotional as the aviation crash happens further away from them. Thus, the Heuristc Theory also applies to this study.en_US
dc.description.abstractalternativeสืบเนื่องมาจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม เมื่อนักลงทุนมีอารมณ์ที่เป็นด้านลบ จะส่งผลกระทบต่อการลงทุนของพวกเขา ในรายงานการวิจัยฉบับนี้เราได้ทำการวิจัยผลกระทบของอุบัติเหตุเครื่องบินตกต่อการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนของหุ้นทั้งผลตอบแทนของหุ้นของสายการบินที่ประสบอุบัติเหตุและผลตอบแทนของหุ้นที่เป็นคู่แข่งของสายการบินที่ประสบอุบัติเหตุ เป็นระยะเวลา ๕๐ ปี ทั้งนี้เพื่อศึกษาการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนของหลักทรัพย์เมื่อนำหุ้นทั้งสองฝั่งมาทำการซื้อขาย นอกจากนี้แล้วรายงานวิจัยฉบับนี้ยังศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยที่จะส่งผลกระทบต่อหลักทรัพย์ที่นำหุ้นทั้งสองฝั่งมาทำการซื้อขายกันแล้ว จากผลการศึกษาในรายงานการวิจัยฉบับนี้ เราได้พบว่า อัตราผลตอบแทนที่ผิดปกติสะสม (cumulative abnormal return, CAR) ของหุ้นของสายการบินที่ประสบอุบัติเหตุนั้น มีการเคลื่อนไหวไปในทางที่ลดลงอย่างต่อเนื่องและเคลื่อนขึ้นไปในทิศทางที่กลับคืนสู่สภาวะปกติ ในด้านของอัตราผลตอบแทนที่ผิดปกติสะสมของหุ้นฝั่งคู่แข่ง รายงานวิจัยฉบับนี้พบว่าอัตราผลตอบแทนที่ผิดปกติสะสมของหุ้นฝั่งคู่แข่งมีการเคลื่อนไหวโดยรวมไปในทางที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องไปในระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะมีการเคลื่อนไหวไปในทางที่กลับเข้าสู่สภาวะปกติ นอกจากนี้แล้วเรายังพบอีกว่าอัตราผลตอบแทนที่ผิดปกติสะสมของหลัทรัพย์ที่ทำการซื้อขายตามการซื้อขายตามการขึ้นลงของอัตราผลตอบแทนที่ผิดปกติสะสมนั้น มีการเพิ่มขึ้นเมื่ออุบัติเหตุเครื่องบินตกนั้นเกิดไกลจากตลาดหุ้นที่หุ้นของสายการบินที่ตกนั้นจดทะเบียนอยู่มากขึ้น ฉะนั้นนี่ถือเป็นการค้นพบที่ตรงกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ที่ชื่อว่า Heuristic Theory ที่นักลงทุนจะตอบสนองน้อยลงเมื่อเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่ออารมณ์นักลงทุน เช่นอุบัติเหตุเครื่องบินตกนั้น เกิดขึ้นไกลจากนักลงทุนเหล่านั้นมากขึ้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleMaking Profit out of Airplane Crashesen_US
dc.title.alternativeการสร้างกำไรจากอุบัติเหตุเครื่องบินตกen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineFinanceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisornarapong@cbs.chula.ac.th,etihuu@gmail.comen_US
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5782933026.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.