Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลาen_US
dc.contributor.authorวรวรรณ ก่อกองen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:03:42Z-
dc.date.available2016-12-02T02:03:42Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50768-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้พอดคาสต์ในการฝึกสอนแบบจุลภาคด้วยตัวแบบระดับต่างกันที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและสมรรถนะการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบการทดลองขั้นต้น (Pre-Experimental Design) แบบ The One-Group Pretest-Posttest Design และข้อมูลเชิงคุณภาพ ตัวอย่าง คือ นิสิตก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) พิจารณาจากคุณสมบัติที่ศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนออกฝึกปฏิบัติการวิชาชีพครู และในสาขาที่มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1)แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง 2)แบบประเมินสมรรถนะการสอน 3)แผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบจุลภาค 4)พอดคาสต์การฝึกสอนแบบจุลภาคด้วยตัวแบบระดับต่างกัน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test dependent) ข้อมูลเชิงคุณภาพได้จากการสังเกต บันทึก และวิเคราะห์ร่องรอยการใช้พอดคาสต์ ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเองและสมรรถนะการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์ ก่อนทดลองและหลังทดลองแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of using podcasts with different levels of modeling in micro teaching upon self-efficacy and teaching competency of pre-service teachers. The research was a pre-experimental disign of the one-group pertest-posttest design; qualitative data was collected from pre-service teacher at the end of the research. The sample of the study was 12 pre-service teachers of the Faculty of Education of Chulalongkorn University who were studying in the second semester of the academic year 2014; they were selected by purposive sampling, from students in the final semester before their internships in school, and with computer fluency. The research instruments were 1)the self-efficacy assessment 2)the evaluating teaching competency assessment 3)the micro teaching plan 4)the podcasts with different levels of modeling in micro teaching. The data analysis was performed by descriptive statistics, average, standard derivation and t-test dependent. Qualitative data were derived from observation, student's note taking, and archives from the use of podcast. The findings revealed that the self-efficacy and teaching competency of pre-service teachers before and after doing the experiment were different significantly at a statistical level of 0.05en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของการใช้พอดคาสต์ในการฝึกสอนแบบจุลภาคด้วยตัวแบบระดับต่างกันที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและสมรรถนะการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์en_US
dc.title.alternativeTHE EFFECTS OF USING PODCAST WITH DIFFERENT LEVELS OF MODELING IN MICRO TEACHING UPON SELF-EFFICACY AND TEACHING COMPETENCY OF PRE-SERVICE TEACHERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th,jaitipn@gmail.com,jaitip@hotmail.comen_US
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583428527.pdf6.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.