Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพิมพา จรัลรัตนกุลen_US
dc.contributor.authorกิมาพร ลีสมิทธิ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:05:57Z-
dc.date.available2016-12-02T02:05:57Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50890-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการแลกเปลี่ยนระหว่างหัวหน้าและสมาชิกและความผูกพัน โดยมีการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและการให้อำนาจเป็นตัวแปรส่งผ่าน เพื่อทำนายรูปแบบความผูกพันของนางพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพจำนวน 436 คนจากโรงพยาบาลรัฐในจังหวัดกำแพงเพชร 11 แห่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผลการทดสอบการวิเคราะห์โมเดลโดยใช้โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling; SEM) ด้วยโปรแกรมลิสเรส (LISREL) พบว่า โมเดล 1 ศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเพื่อทำนายความผูกพัน โดยส่งผ่านการรับรู้ความยุติธรรมโดยรวม พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (χ2(27, N = 436) = 86.78, p = 0.00, GFI = 0.96, AGFI = 0.92, CFI = 0.98, RMSEA = 0.07) โดยตัวแปรการรับรู้ความยุติธรรมโดยรวมทำหน้าที่เป็นตัวแปรส่งผ่านระหว่างการแลกเปลี่ยนระหว่างหัวหน้าและสมาชิกและความผูกพันกับองค์การ ((indirect effect = .18, p < .01) ส่วนโมเดล 2 ศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเพื่อทำนายความผูกพัน โดยส่งผ่านการให้อำนาจ พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี (χ2(64, N = 436) = 180.08, p = 0.00, GFI = 0.94, AGFI = 0.91, CFI = 0.98, RMSEA = 0.06) โดยตัวแปรการให้อำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแปรส่งผ่านระหว่างการแลกเปลี่ยนระหว่างหัวหน้าและสมาชิกและความผูกพันกับหัวหน้า (indirect effect = .07, p < .05) และความผูกพันกับองค์การ (indirect effect = .32, p < .01)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine Perceived Organizational Justice (POJ) and Empowerment (EM) as mediators of the relationship between Leader-Member Exchange (LMX) and commitment among nurses. Participants were 436 nurses from public hospitals in Kamphaeng Phet province. Data were collected using a paper-based questionnaire. The results from Structural Equation Modeling (SEM) analysis using LISREL indicated that the first model (POJ as a mediator) yielded an acceptable fit (χ2(27, N = 436) = 86.78, p = 0.00, GFI = 0.96, AGFI = 0.92, CFI = 0.98, RMSEA = 0.07) with POJ as a mediator between LMX and commitment to organization. While the second model (EM as a mediator) fit well to the empirical data (χ2(64, N = 436) = 180.08, p = 0.00, GFI = 0.94, AGFI = 0.91, CFI = 0.98, RMSEA = 0.06) with EM as a mediator between LMX and commitment to supervisor (indirect effect = .07, p < .05) and commitment to organization (indirect effect = .32, p < .01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.814-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน-
dc.subjectความภักดีของลูกจ้าง-
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ-
dc.subjectความผูกพัน-
dc.subjectNurses -- Job satisfaction-
dc.subjectEmployee loyalty-
dc.subjectOrganizational commitment-
dc.subjectCommitment (Psychology)-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการแลกเปลี่ยนระหว่างหัวหน้าและสมาชิกและความผูกพัน โดยมีการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การกับการให้อำนาจเป็นตัวแปรส่งผ่านen_US
dc.title.alternativeRelationship between leader-member exchange and commitment : perceived organizational justice and empowerment as mediatorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrapimpa.J@chula.ac.th,prapimpa.j@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.814-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5677604838.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.