Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51081
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริชัย กาญจนวาสี | en_US |
dc.contributor.author | ชนิสรา สงวนไว้ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-02T02:10:18Z | - |
dc.date.available | 2016-12-02T02:10:18Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51081 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประมาณค่าความแปรปรวนขององค์ประกอบที่มีผลต่อสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง (G- Coefficient) ของแบบสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ (2) ประมาณค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงของคะแนนแบบสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ที่มีวิธีการออกแบบโดยผู้ตรวจตรวจให้คะแนนทุกข้อของผู้สอบทุกคน (pxixr) และผู้ตรวจตรวจข้อสอบเฉพาะข้อของผู้สอบทุกคน (px(i:r)) และ (3) เปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงของคะแนนแบบสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ที่มีวิธีการออกแบบฟาเซตที่ต่างกันภายใต้จำนวนข้อและจำนวนผู้ตรวจต่างกัน โดยกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ค่าสถิติพื้นฐาน, สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน คุณภาพของผู้ตรวจ (intra-rater& inter-rater reliability) และ สัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง (G- Coefficient) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ผลการประมาณค่าความแปรปรวนพบว่า ความแปรปรวนของคะแนนปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอบกับข้อสอบ (σ2pi)ส่งผลต่อค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงมากที่สุด (2) ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงพบว่าเมื่อจำนวนข้อสอบและจำนวนผู้ตรวจเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงสำหรับการตัดสินใจเชิงสัมพัทธ์ (Relative coefficient) และค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงสำหรับการตัดสินใจเชิงสัมบูรณ์ (absolute coefficient) ที่สูงขึ้น (3) ผลการเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง พบว่าการออกแบบโดยผู้ตรวจตรวจเฉพาะข้อของผู้สอบทุกคนมีค่าความเที่ยงสูงกว่าผู้ตรวจตรวจทุกข้อของผู้สอบทุกคนและควรเลือกใช้สถานการณ์ pxixr ที่มีผู้ตรวจ 1 คน ตรวจให้คะแนน 7 ข้อหรือpx(i:r) ที่มี ผู้ตรวจ 2 คน ตรวจให้คะแนนคนละ 5 ข้อ เพื่อให้มีค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงสำหรับการตัดสินใจเชิงสัมพัทธ์ (ρ2δ) มากกว่า 0.80 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to estimate variance component for Mathematics Creative Problem Solving Ability Test in Generalizability Study 2) to estimate G-coefficient in Two-Facet Crossed Design or pxixr design and Two-Facet Nested Design or px(i:r) design and 3) to compare the test reliability for measuring Mathematics Creative Problem Solving Ability using the different design in D-Study the different number of item situation and the rater used the application to Generalizability Theory. Sample were 120 students in the ninth grade. Research instruments were Mathematics Creative Problem Solving Ability Test. Basic Statistics, Pearson’s Product Moment Correlation intra-rater& inter-rater reliability and G-Coefficient were used to analyze the data. Summarized results of the research were: (1) The highest of the estimated variance components is σ2pi. (2) Both of the Two-Facet Crossed Design and Two-Facet Nested Design have more G-Coefficient when the numbers of items and the raters were increased. (3) The result of the comparison of the test reliability for measuring mathematics creative problem solving ability found that the using under the different design in D-Study effected to the reliability of the test. The Two-Facet Nested Design, px(i:r) design, has G-Coefficient higher than Two-Facet Crossed Design, pxixr design, for example ; 1 raters for 7 items in pxixr design and 2 raters for 5 items in px(i:r) design for the least which we has the G-Coefficient for Relative Decisions (ρ2δ) > 0.80 . | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบความเที่ยงของแบบสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์: การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของผลการวัด | en_US |
dc.title.alternative | COMPARISON OF TEST RELIABILITY FOR MEASURING MATHEMATICS CREATIVE PROBLEM SOLVING ABILITIES: APPLICATION OF GENERALIZABILITY THEORY | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การวัดและประเมินผลการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Sirichai.K@Chula.ac.th,Skanjanawasee@hotmail.com | en_US |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5783817127.pdf | 9.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.