Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิรงรอง รามสูตen_US
dc.contributor.authorพิระดา ธรรมวีระพงษ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:03:38Z
dc.date.available2016-12-02T06:03:38Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51267
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการการสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเพจเฟซบุ๊กและกระทู้เว็บไซต์พันทิปดอทคอม ห้องหว้ากอ และคุณลักษณะของเว็บ 2.0 ที่ช่วยปรับเปลี่ยนและสร้างประสิทธิภาพในการสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาในเพจเฟซบุ๊กจำนวน 7 เพจ และกระทู้เว็บไซต์พันทิปดอทคอมจำนวน 5 กระทู้ เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน 2556 และการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มผู้ดูแลและผลิตเนื้อหาในเพจเฟซบุ๊กจำนวน 7 คน กระบวนการสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเพจเฟซบุ๊ก ประกอบด้วย การวางแผน การออกแบบ การพัฒนา การประเมินและการปรับปรุง โดยผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเพจเฟซบุ๊กและกระทู้ห้องหว้ากอ เว็บไซต์พันทิป ได้แก่ (1) ความสม่ำเสมอในการโพสต์ (2) จำนวนโพสต์ (3) ลักษณะของเนื้อหา และ (4) การมีแพลทฟอร์มอื่นนอกเหนือจากเพจเฟซบุ๊กและกระทู้พันทิป โดยคุณภาพของเนื้อหาเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการเข้าถึงโพสต์หรือกระทู้ และการมีปฏิสัมพันธ์ในเพจหรือกระทู้เว็บไซต์พันทิปดอทคอมนั้น เพจเฟซบุ๊กและกระทู้เว็บไซต์พันทิปดอทคอมคือตัวอย่างของเว็บ 2.0 ซึ่งมีคุณลักษณะที่ช่วยปรับเปลี่ยนและสร้างประสิทธิภาพในการสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ คุณลักษณะการเปิดกว้าง คุณลักษณะการผลิตเนื้อหาโดยผู้ใช้ระดับปัจเจกและการนำเนื้อหาเข้าสู่ระบบโดยผู้ใช้ คุณลักษณะการสร้างสรรค์สิ่งใหม่จากพลังที่เชื่อมต่อกันของกลุ่มคนที่อยู่ในเครือข่าย และสถาปัตยกรรมแห่งการมีส่วนร่วมen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims at studying the pattern and process of Scientific knowledge communication on Facebook page and Pantip.com webboard (Wahkor forum) and attributes of Web 2.0 that change and be effective for the communication of Scientific knowledge in Thai society. Using Quantitative Research Method by Content Analysis Technique, collecting data from 7 Facebook Pages and 5 Forums of Pantip.com webboard for 3 months between July – September 2014 and using Qualitative Research Method by conducting In-depth Interview 7 Facebook Pages’s Administrators. The processes of Scientific knowledge communication are Planning, Design, Development, Evaluation, and Revise. Research results show that the factors that cause communication of Scientific knowledge and participation of internet users are (1) Regularity of posting (2) Amount of Posts (3) Quality of content (4) Other platforms besides Facebook page and Pantip.com webboard. Especially, quality of content is the most important factor that affect to organic reach and participation of internet users in Facebook page and Pantip.com webboard. Facebook page and Pantip.com webboard are the examples of web 2.0 that have many attributes that change and be effective for the communication of Scientific knowledge consists of (1) Individual production and user generated content, (2) Harness the power of the crowd, (3) Openness, (4) Data on an epic scale, and (5) Architecture of participation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.989-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเว็บ 2.0
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การเรียนการสอนผ่านเว็บ
dc.subjectWeb 2.0
dc.subjectScience -- Web-based instruction
dc.titleเว็บ 2.0 กับการสื่อสารความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeWeb 2.0 and the communication of scientific knowledge in Thai societyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPirongrong.R@Chula.ac.th,pirongrong.r@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.989-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5584689128.pdf12.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.