Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51423
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปัทมศิริ ธีรานุรักษ์ จารุชัยนิวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | พัชรินทร์ ลิ้มสุปรียารัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2016-12-13T10:26:48Z | - |
dc.date.available | 2016-12-13T10:26:48Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51423 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการจัดสนามเด็กเล่นในโรงเรียนอนุบาล กรุงเทพมหานคร ในด้านการออกแบบพื้นที่ การเลือกเครื่องเล่นสนาม และการใช้งานและการดูแลรักษาสนามเด็กเล่น ตัวอย่างประชากร ประกอบด้วย ผู้บริหารจำนวน 262 คน และครูอนุบาลจำนวน 262 คน ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และแบบสำรวจ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้วิเคราะห์โดยใช้ค่าร้อยละ ผลการวิจัยดังนี้ 1) การออกแบบพื้นที่ สนามเด็กเล่นในโรงเรียนอนุบาลส่วนมากมีการกำหนดขนาดของสนามเด็กเล่นจากพื้นที่ว่างในโรงเรียน มีขนาด50-100 ตารางวา องค์ประกอบในสนามเด็กเล่น ได้แก่ พื้นที่ให้เด็กเล่นอิสระ พื้นที่ในการจัดกิจกรรมและเกม ศาลาหรือที่นั่งพัก สนามเด็กเล่นใกล้อาคารเรียน พื้นสนามของสนามเด็กเล่นใช้วัสดุที่สร้างพื้นสนาม ได้แก่ ปูน หญ้า และทราย 2)การเลือกเครื่องเล่นสนาม โครงสร้างของเครื่องเล่น ส่วนใหญ่ทำจากอะลูมิเนียม ลักษณะของเครื่องเล่น สนามเป็นแบบแยกชิ้นและหลายประเภท เครื่องเล่นสนามที่โรงเรียนมีส่วนใหญ่ คือ เครื่องปีนป่าย มีบ้านจำลองเป็นอุปกรณ์ประกอบการเล่น ลักษณะการติดตั้งเครื่องเล่นสนามเป็นการวางเครื่องเล่นบนพื้นสนาม และมีการประกอบของเครื่องเล่น โดยการเชื่อมต่อของวัสดุ 3) การใช้งานและการดูแลรักษา ช่วงเวลาที่เด็กได้ใช้สนามเด็กเล่น คือ กิจกรรมกลางแจ้งโดยการจัดตารางการใช้สนามเด็กเล่นแบบทุกวันและกำหนดช่วงเวลา ระยะเวลาในการเล่นอิสระและเล่นตามตารางกิจกรรมประจำวัน ประมาณวันละ 20-40 นาที และมีการทำความสะอาดสนามเด็กเล่นทุกวัน 4) ปัญหาที่พบ อันดับแรก คือ ขนาดของสนามเด็กเล่นเล็กเกินไป อันดับที่สอง คือ ไม่ใช้สนามเด็กเล่นตามข้อปฏิบัติในการใช้สนาม และอันดับที่สาม คือ ระยะเวลาในการใช้สนามไม่ตามตารางเวลา | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study state and problems of preschool playground in Bangkok metropolis in landscape design, playground equipment selection, utilization and maintenance. The samples were 262 executives and 262 teachers from 262 kindergartens. The research instruments used in this study were a questionnaire, an interviewing from, an observation form, and a survey form. The data was analyzed using frequency and percentage. The research findings were as follows. 1) Landscape Design: Most sizes of the playgrounds in kindergarten schools were specified based on the schools’ free space which ranges from 100 to 200 m2. The playgrounds’ components were free play area, activity area and benches. It was also found that most of the ground surfaces of the playground were constructed from concrete, grass and sand. 2) Playground Equipment Selection: Most of the playground instructions in kindergarten schools were made from aluminum. There were various types of the equipments and most playgrounds had climbers and playhouse for playing, which were installed in the playground by placing the equipments on the ground. It was also found that the equipments were assembled by the welding method. 3) Utilization and Maintenance: The children used the playground during the outdoor activity which were scheduled daily and time table. The duration for free play and outdoor activity was 20-40 minutes per day. The playgrounds were cleaned daily. 4) Problems: Mostly was the site of playground were too small, followed by the problem of using playground unregulation and the duration of utilization didn’t use follow time table. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1354 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สนามเด็กเล่น -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | โรงเรียนอนุบาล -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | Playgrounds -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Kindergarten -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.title | สภาพและปัญหาการจัดสนามเด็กเล่นในโรงเรียนอนุบาล กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | State and problems of preschool playground management in Bangkok metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การศึกษาปฐมวัย | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Pattamasiri.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1354 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
patcharin_li_front.pdf | 672.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
patcharin_li_ch1.pdf | 456.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
patcharin_li_ch2.pdf | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
patcharin_li_ch3.pdf | 715.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
patcharin_li_ch4.pdf | 2.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
patcharin_li_ch5.pdf | 763.44 kB | Adobe PDF | View/Open | |
patcharin_li_back.pdf | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.