Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51517
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญ รัชฎาวงศ์
dc.contributor.advisorเขมรัฐ โอสถาพันธุ์
dc.contributor.authorสุภาวดี อ้อยเป็น
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2017-01-23T03:54:11Z
dc.date.available2017-01-23T03:54:11Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51517
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาและหาสภาวะที่เหามะสมในการตกตะกอนไทเทเนียมไดออกไซด์ออกจากน้ำเสียโดยการรวมตะกอนทางเคมีและการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้า ซึ่งทำการแปรค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ได้แก่ ชนิดของโคแอกกูแลนต์ พีเอชเริ่มต้น และปริมาณขอโคแอกกูแลนต์สำหรับการตกตะกอนทางเคมี ส่วนการรวมตะกอนไฟฟ้าทำการแปรค่าปริมาณแระแสไฟฟ้าที่ใช้ พีเอชเริ่มต้น ระยะเวลาเก็บกัก ขนาดขั้วไฟฟ้าและความนำไฟฟ้า และนำไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ได้จากการรวมตะกอนทางเคมีและไฟฟ้ากลับมาใช้ในการกำจัดไซยาไนด์โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลต เพื่อหาประสิทธิภาพของไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ได้จากการรวมตะกอนเมื่อนำกลับมาใช้ใหม่ ผลการทดลองสามารมแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้ การรวมตะกอนทางเคมีด้วยโพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ แคลเซียมคลอไรด์ และเฟอร์รัสซัลเฟต สภาวะที่เหมาะสมคือ พะเอชเริ่มต้น 12 12.5 และ 12 ปริมาณโคแอกกูแลนต์เท่ากับ 1.5 1.0 และ 1.5 กรัม ตามลำดับ สำหรับการรวมตะกอนไฟฟ้า เมื่อใช้กระแสไฟฟฟ้ามากกว่า 0.25 แอมแปร์ ฟล็อคจะมีปริมาณมาก ประสิทธิภาพในการตกตะกอนสูง เวลาเก็บกักที่เหมาะสมคือครึ่งชั่วโมง เมื่อเพิ่มเวลามากขึ้นจะยิ่งต้องใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้นด้วยในขณะที่ประสิทธิภาพไม่ต่างกันมากนัก พีเอชที่เหมาะสมคือ 11 ขนาดขั้วไฟฟ้าที่เหมาะสม คือ 6x6.5 ตร.ซม. สำหรับประสิทธิภาพของไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ได้จากการรวมตะกอนเมื่อนำกลับมาใช้ใหม่ พบว่าไททาเนียมไดออกไซด์ที่ได้จากการใช้โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์และที่ได้จากการรวมตะกอนไฟฟ้าสามารถใช้ซ้ำได้ 4 ครั้ง โดยสามารถกำจัดไซยาไนด์ได้มากกว่า 90% ในเวลา 420 นาที ในขณะที่ไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ได้จากการใช้แคลเซียมคลอไรด์ ไม่สามารถนำมาใช้ซ้ำได้เนื่องจากให้ประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์ค่อนข้างต่ำen_US
dc.description.abstractalternativeThis research examined the optimum conditions of chemical coagulation and electrocoagulation process for separate TiO from cyanide treatment wastewater. In chemical coagulation process : coagulants, initial pH and coagulant dosages were varied. Effect of the influencing factors : electrical current, initial pH, retention time, electrode size and conductivity were explored in electrocoagulation process. The optimum initial pH in chemical coagulation proce3ss for PACI, CaCI and FeSO coagulations were 12.0 12.5 and 12.0 and coagulant dosages wer4 1.5 1.0 and 1.5 grams per liter, respectively. In electrocoagulation process, amount of floc and percentage of tIo REMOVAL INCREASED WHEN ELECTRICAL CURRENT WAS MORE THAN 0.25 AMPERES. The optimum retention time was half an hour. Although higher percentage of TiO removal was associated with higher retention time and electrode size, the power energy and losing aluminum increased. Amount of floc were too much when the electrode size was larger than 6x6.5 square centimeters. The number of TiO reuse times were four for TiO from PACI coagulation and electrocoagulation. The cyanide removal efficiency of these processes was more than 90% in 420 minutes. In contrast, the remaining chloride ion on surface of TiO from CaCI coagulation retarded cyanide photooxidation reaction whose first order rate constants much were lower than those of new TiO.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.776-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไทเทเนียมไดออกไซด์en_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดไซยาไนด์en_US
dc.subjectTitanium dioxide
dc.subjectSewage -- Purification -- Cyanide removal
dc.titleการนำไทเทเนียมไดออกไซด์จากกระบวนการบำบัดไซยาไนด์มาใช้ใหม่ด้วยกระบวนการรวมตะกอนทางเคมีและไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeResue of titanium dioxide from cyanide treatment by chemical coagulation and eletrocoagulatiion processesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpichaya.r@chula.ac.th
dc.email.advisorkhemarath.o@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.776-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
supavadee_oi_front.pdf317.2 kBAdobe PDFView/Open
supavadee_oi_ch1.pdf176.32 kBAdobe PDFView/Open
supavadee_oi_ch2.pdf770.57 kBAdobe PDFView/Open
supavadee_oi_ch3.pdf288.19 kBAdobe PDFView/Open
supavadee_oi_ch4.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
supavadee_oi_ch5.pdf174.2 kBAdobe PDFView/Open
supavadee_oi_back.pdf760.16 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.