Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51693
Title: Design for arrival zone of non-road adjacent elevated metro station : a case study of three Bangkok airport rail link (ARL) stations
Other Titles: การออกแบบพื้นที่เข้าใช้บริการจากจุดที่ไม่ติดถนนของสถานีรถไฟฟ้ายกระดับจากพื้น: กรณีศึกษา สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงค์ 3 แห่งในกรุงเทพฯ
Authors: Gegana, Gregorius Anugerah
Advisors: Ponn Virulrak
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Architecture
Advisor's Email: Ponn.V@Chula.ac.th
Subjects: Electric railroads
Railroad terminals -- Facilities
รถไฟฟ้า
สถานีรถไฟ -- สิ่งอำนวยความสะดวก
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Metro train is a part of passenger’s total journey. It requires interchanges with other public transport system and other modes of transport, such as cars and walking in its arrival zone. However, most of the Bangkok Airport Rail Link (ARL) stations are not conveniently located with respect to main public roads. Difficult to reach by public transportation and private car, lack of parking space, unsecured access, and dangerous crossing are some problems reported by station users during the field survey. The aim of this study is to explore the possibility of creating connecting spaces from ARL stations to the main roads that can facilitate the interchange to other transportation modes. This study focuses on 3 suburban ARL stations: Hua Mak, Ban Tap Chang, and Lat Krabang stations; since no plan has been developed for these areas. Based on literature review and survey of user needs, this study gives examples for an integrated facility in station’s arrival zone to connect the ARL stations to main roads and other transport carriers in the face of various challenges, e.g.: limited space, low-density and regulations that limit development in suburban areas, cultural factors that affect availability of alternative transportation modes and activities in public space, and future city development. The results of the study show that, although situated 3 different site conditions, there are several common design elements that can be drawn from the design process such as, separation of pedestrian and vehicular zones, implementing pedestrian crossing bridges or skywalks for safety, providing motorcycle and bicycle parking behind the main entrance, locating main congested area next to the main entrance with retail facility, station plaza/ park to signify the presence of the stations, and providing car parking facility away from the main station entrance but allow direct access to pedestrian areas.
Other Abstract: รถไฟในเขตมหานครเป็นส่วนหนึ่งในระบบการเดินทางที่จำเป็นของประชาชน จำเป็นที่จะต้องมีจุดเชื่อมต่อกับระบบขนส่งสาธารณะอื่นๆและการเดินทางด้วยวิธีต่างๆ อาทิ รถยนต์ส่วนบุคคล และการเดินเท้า เพื่อเข้าสู่พื้นที่ใช้บริการขาเข้า อย่างไรก็ตาม สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ ส่วนใหญ่สร้างห่างจากถนนสายหลัก จากการสำรวจของผู้วิจัย ผู้ใช้บริการได้แจ้งปัญหาต่างๆ เช่น การเข้าถึงได้ยากการขนส่งสาธารณะและรถยนตร์ส่วนบุคคล ไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนการเดินทาง ขาดพื้นที่จอดรถที่เพียงพอ บางพื้นที่เสี่ยงต่ออันตราย การข้ามถนนเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ จุดประสงค์ในการศึกษานี้คือ การศึกษาความเป็นไปได้ของการมีพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์กับถนนหลักเพื่ออำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนสู่หรือเปลี่ยนจากการเดินทางแบบอื่นๆ ในการศึกษานี้เน้นไปที่สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ ย่านชานเมือง 3 สถานี ได้แก่ สถานีหัวหมาก สถานีบ้านทับช้าง สถานีลาดกระบัง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ยังไม่มีแผนพัฒนา ในการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บริการ การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงตัวอย่างของสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ใช้บริการขาเข้าของสถานีซึ่ง มพันธ์กับถนนหลักและ/หรือการเดินทางวิธีอื่นๆโดยที่ตั้งของสถานีมีข้อจำกัดต่างๆ เช่น มีพื้นที่จำกัด การหนาแน่นในการเดินทางต่ำ กฎหมายและข้อบังคับที่ควบคุมการพัฒนาพื้นที่ชานเมือง ปัจจัยต่างๆ ทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อจำนวนรูปแบบการเดินทางแบบต่างๆกับที่มีผลต่อกิจกรรมในพื้นที่สาธารณะ รวมถึงอนาคตของการพัฒนาเมือง จากผลการศึกษาพบว่า แม้ว่าพื้นที่ที่ต่างกันทั้ง3จะมีสภาพแวดล้อมหลายอย่างที่ต่างกัน แต่สามารถที่จะหาองค์ประกอบหลักๆในการออกแบบร่วมกันได้ อาทิ ทางเดินเท้าที่แยกอย่างชัดเจนจากพื้นที่ที่ใช้พาหนะต่างๆ สะพานข้ามหรือทางเดินลอยฟ้าเพื่อความปลอดภัย พื้นที่จอดจักรยานยนตร์และจักรยานเมื่อผ่านทางเข้าหลักด้านนอกสถานี พื้นที่ที่มีการใช้สอยหน้าแน่นที่สุดถัดจากทางเข้าหลักของสถานีควรติดกับพื้นที่ร้านค้าและห้องน้ำสาธารณะ พื้นที่กว้างหรือสวนหย่อมที่ทำให้สถานีเป็นจุดเด่นมากขึ้น พื้นที่จอดรถที่แยกห่างจากจุดทางเข้าหลักของสถานีแต่เชื่อมต่อกับทางเดินเท้า
Description: Thesis (M.Arch.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Architecture
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Architectural Design
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51693
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.353
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.353
Type: Thesis
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gregorius-anugerah_ge.pdf24.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.