Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51695
Title: แนวทางการปรับปรุงบ้านมือสอง กรณีศึกษา บ้านเดี่ยวราคา 1-3 ล้านบาท ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลตอนเหนือและตะวันออก
Other Titles: Pre-owner home renovation guildlines : a case study of 1-3 million baht single-detached house in the Bangkok metropolitan area of the north and the east
Authors: กฤษฎา อัชฌาสุทธิคุณ
Advisors: บัณฑิต จุลาสัย
ยุวดี ศิริ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
Advisor's Email: cbundit@chula.ac.th
Yuwadee.S@Chula.ac.th
Subjects: บ้าน
บ้าน -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
ที่อยู่อาศัย -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
Home
Home -- Maintenance and repair
Dwellings -- Maintenance and repair
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้เลือกบ้านมือสองประเภทบ้านเดี่ยวที่มีราคา 1-3 ล้านบาทเป็นกรณีศึกษา ศึกษาวิธีการและค่าใช้จ่ายในการปรับปรุง โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การสารวจ สังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์ได้แก่ สถาปนิก ผู้ประกอบการและผู้รับเหมาที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่าวิธีการปรับปรุงบ้านมือสองแบ่งเป็น การสารวจและการดาเนินงานก่อสร้างจะประกอบด้วย งานสถาปัตย์ งานไฟฟ้า งานสุขาภิบาล งานภูมิทัศน์และงานอื่นๆได้แก่ ทาความสะอาด ดาเนินการขอมิเตอร์น้า มิเตอร์ไฟและการรื้อถอน ทั้งนี้ในการสารวจสภาพจะแบ่งได้เป็น ใช้งานได้ ต้องซ่อมแซม และชารุดเสียหาย จากการศึกษาการสารวจสภาพบ้านทั้ง 5 หลังพบว่า งานสถาปัตย์และสุขาภิบาลบ้านหลังที่ 1 และ 2 ชารุดเสียหายบ้านหลังที่ 3 และ 4 ต้องซ่อมแซมและบ้านหลังที่ 5 ใช้งานได้ดี งานไฟฟ้าพบว่าบ้านหลังที่ 1 และ 2 ต้องซ่อมแซม บ้านหลังที่ 3 และ 4 ต้องซ่อมแซมและบ้านหลังที่ 5 ใช้งานได้ดี งานอื่นๆพบว่าบ้านหลังที่ 1 ต้องซ่อมแซม บ้านหลังที่ 2 ถึง 5 ใช้งานได้ดี และงานภูมิทัศน์ทุกหลังชารุดเสียหาย ในด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการปรับปรุงของบ้านทั้ง 5 หลัง โดยแบ่งเป็นงานสถาปัตย์ มีค่าเฉลี่ย 121,290 บาทคิดเป็นร้อยละ 75 งานระบบไฟฟ้ามีค่าเฉลี่ย 29,639 บาท คิดเป็นร้อยละ 14 งานระบบสุขาภิบาลมีค่าเฉลี่ย 9,713 บาท คิดเป็นร้อยละ 5 และงานอื่นๆ มีค่าเฉลี่ย 7,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 4 พบว่าค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงทั้งหมด บ้านหลังที่ 1 มีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 245,630 บาท บ้านหลังที่ 2 มีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 218,920 บาท บ้านหลังที่ 3 มีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 134,270 บาท บ้านหลังที่ 4 มีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 128,545 บาท บ้านหลังที่ 5 มีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 71,490 บาท หรือมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 167,641 บาท จะเห็นได้ว่า บ้านหลังที่ 1 มีค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงสูงที่สุด เนื่องจากงานสถาปัตย์และงานไฟฟ้า อยู่ในสภาพชารุดเสียหาย ส่วนบ้านหลังที่ 5 มีค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่าบ้านหลังอื่น เพราะสภาพอาคารยังใช้งานได้ดี จึงสรุปได้ว่าค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงบ้านมือสองจะแปรผันไปกับสภาพโดยเฉพาะงานสถาปัตย์ที่มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายสูงสุดถึงร้อยละ 75 ของงานทั้งหมด
Other Abstract: This research selected second-hand single houses, which their prices ranging between 1-3 million baht, as the case study by considering the approach and innovating expense. The research collected related documents, investigation, notification, and an interview from concerned people such as architect, entrepreneur, and contractor. From the research, the second-hand single house innovation method can be divided into survey and construction which is composed of architecting, electricity, sanitation, landscape, cleaning, demolition and electric power meter and water meter request. Physical survey is classified into good condition, which meaning to live but only fixes needed ,and decayed condition. The research found that the architecture and sanitation of houses no.1 and no. 2 we are in derelict condition. Houses no.3 and no.4 needed repairing. House no.5 was in good condition. For other parts of innovations, house no.1 needed fixing. Houses no.2, 3, 4, and 5 conditions are still good but their landscapes are destroyed. For innovation cost, this averaged 121,290 baht-75 % for architecture, 29,639 baht-14% for electricity, 9,713 baht-5% for sanitation, 10,460-6% for landscape, and 7,000 baht- 4% for miscellaneous work. Innovation expenses were as follows house no.1 was 245,630 baht; house no.2 218,920 baht; house no.3 134,270 baht; house no. 4 128,545 baht; and house no. 5 71,490. The average innovation expense was 167,641 baht. In conclusion, house no.1 had the highest expense for architecture and electricity as it was in a derelict condition. House no.5 had lower expenses than others because its building condition was still good. Therefore, the innovation cost to modify second-hand house depends upon its condition especially from an architectural point of view which is 75% higher than other aspects.
Description: วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556
Degree Name: เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51695
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1670
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1670
Type: Thesis
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kritsada_at.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.