Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51770
Title: The association between single nucleotide polymorphism within vascular endothelial growth factor gene with disease susceptibility and severity of psoriasis in Thai population
Other Titles: ความสัมพันธ์ของ Single mucleotide polymorphism ในยีน vascular endothelial growth factor กับการเกิดโรคและความรุนแรงของสะเก็ดเงินในประชากรไทย
Authors: Surasak Yooyongsatit
Advisors: Jongkonnee Wongpiyabovorn
Nattiy Hirankarn
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: fmedjwp@md.chula.ac.th
No information provided
Subjects: Psoriasis
Nucleotides
Vascular endothelial growth factors
โรคสะเก็ดเงิน
นิวคลิโอไทด์
วาสคูลาร์เอ็นโดทีเลียลโกรทแฟกเตอร์
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Other Abstract: โรคเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ลักษณะของผื่นคือ เป็นผื่นนูนหนาสีแดงขอบเขตชัดเจนปกคลุมด้วยสะเก็ดเงิน จัดเป็นโรคภูมิต้านทานเนื้อเยื่อตนเองชนิด T-cell โดยไชโตไคน์มีบทบาทสำคัญในการดำเนินโรค พบว่าปัจจัยทางพันธุกรรมและปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมมีส่วนเกี่ยวข้องกับพยาธิสภาพของโรค มีรานงานการศึกษาทางพันธุกรรมจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่ทำโดยวิธี linkage analysis และ association study รายงานยืนที่เกี่ยวข้องกับโรคสะเก็ตเงินมากมาย หลายรายงานสรุปว่ายืน VEGF เป็นยืนที่มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซม 6p21 มีบทบาทสำคัญในโรคที่มีพื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างหลอดเลือดใหม่ เช่น ในมะเร็งชนิดต่าง ๆ รวมทั้งโรคสะเก็ตเงินด้วย งานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายของยืน VEGF และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสะเก็ตเงิน ใช้วิธี PCR-SSP และ PCR-RFLP โดยศึกษาแบบ population-based case-control จากผู้ป่วยโรคสะเก็ตเงินจำนวน 154 คน แบ่งเป็นผู้ป่วยที่เกิดโรคก่อนอายุ 40 ปี (early-onset) จำนวน 102 คน และผู้ป่วยที่เกิดโรคเมื่ออายุ 40 ปี หรือมากกว่า (late-onset) จำนวน 52 คน เปรียบเทียบกับกลุ่มคนปกติจำนวน 234 คน ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบของ -460TT หรือ -460TC มีความสำพันธ์กับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสะเก็ตเงินในช่วงอายุน้อยกว่า 40 ปี อย่างมีนับสำคัญทางสถิติ (p=0.0450, OR=4.67, 95%Cl=1.03-29.52) นอกจากนี้เป็นที่น่าสนใจว่า เมื่อวิเคราะห์รูปแบบ haplotype ของยืน VEGF พบว่า CTG haplotype มีความสัมพันธ์กับความเสื่องต่อการเกิดโรคสะเก็ตเงิน การเกิดโรคในช่วงอายุน้อยกว่า 40 ปี และความรุนแรงของโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.0307, OR=1.40, 95%Cl=1.03-1.91, p=0.0098, OR=1.58, 95%Cl=1.11-2.24, p=0.0475, OR=1.70, 95%Cl=1.01-2.87) ตามลำดับ นอกจากนั้น CTG/CTG หรือ CTG/other haplotype ยังพบว่ามีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสะเก็ตเงิน และการเกิดโรคในช่วงอายุน้อยกว่า 40 ปี อย่างนัยสำคัญทางสถิติเช่นเดียวกัน (p=0.0078, OR=1.81, 95%Cl=1.16-2.84, OR=2.20, 95%Ci=1.29-3.74)ตามลำดับ นากจากนี้ไม่พบความแตกต่างของระดับ VEGF ใน plasma ของผู้ป่วยระหว่างกลุ่ม haplotypes ที่แตกต่างกัน จากผลการศึกษานี้ สรุปได้ว่า CTG haplotype และ –460C/T polymorphism สามารถใช้เป็นเครื่องหมายของยืนในการกำหนดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสะเก็ตเงินในช่วงอายุน้อยกว่า 40 ปีในประชากรไทย
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Medical Microbiology (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51770
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2090
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.2090
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
surasak_yo_front.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch1.pdf900.84 kBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch2.pdf260.52 kBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch3.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch4.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch5.pdf7.75 MBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch6.pdf912.5 kBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_ch7.pdf273.72 kBAdobe PDFView/Open
surasak_yo_back.pdf4.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.