Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51826
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาวดี มิตรสมหวัง
dc.contributor.authorสุชาดา ไพยรัตน์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.coverage.spatialไทย
dc.date.accessioned2017-02-14T09:03:12Z
dc.date.available2017-02-14T09:03:12Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51826
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการศึกษากระบวนการเสริมพลังคำสอนพระพุทธศาสนาในสังคมไทยศึกษากรณี : เสถียรธรรมสถาน กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ผู้วิจัยเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของเสถียรธรรมสถาน และสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มผู้ปฏิบัติธรรมเพื่อมุ่งศึกษากระบวนการเสริมพลังคำสอนของพระพุทธศาสนาในสถานปฏิบัติธรรมเสถียรธรรมสถาน และแรงจูงใจที่ทำให้คนเข้าร่วมกระบวนการเสริมพลังคำสอนพระพุทธศาสนาในสถานปฏิบัติธรรมเสถียรธรรมสถานรวมถึงศึกษาผลจากการดำเนินการเสริมพลังคำสอนพระพุทธศาสนาที่มีต่อผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรมในสถานปฏิบัติธรรมเสถียรธรรมสถาน จากการศึกษาพบว่ากระบวนการเสริมพลังคำสอนพระพุทธศาสนาของเสถียรธรรมสถานนั้นสอดคล้องกับกระบวนการเสริมพลัง(Revitalization process) ของ Anthony F.C. Wallace (1970) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการสื่อสาร (Communication) โดยเสถียรธรรมสถานได้นำสื่อที่ทันสมัยมาใช้ในการสอนจนเป็นที่ประทับใจของผู้ปฏิบัติธรรม จนเป็นหนึ่งในแรงจูงใจที่ทำให้ผู้ปฏิบัติธรรมเข้ามาร่วมปฏิบัติธรรมที่เสถียรธรรมสถานประกอบกับการที่ผู้ปฏิบัติธรรมชอบคำสอนของคุณแม่ชีซึ่งสอนแล้วเข้าใจง่ายและนำมาใช้ได้จริงในปัจจุบัน ทำให้ผู้ปฏิบัติธรรมนำคำสอนมาใช้ในการดำเนินชีวิตจริงเป็นผลให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้รับประโยชน์โดยตรงกับตนเองในด้านร่างกาย ด้านศีลธรรม ด้านจิตใจและก่อให้เกิดปัญญา นอกจากนี้ ผลจากการปฏิบัติธรรมยังก่อให้เกิดความสงบสุขต่อสังคมส่วนรวมอีกด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThe study of revitalization of Buddhist teaching process in Thailand : a case study of the buddhist teaching at Sathira-Dhammasathan, Bangkok Metropolis is a qualitative research in which the researcher participates in activities within Sathira-Dhammasathan together while conducting an in-depth interview to the Buddhist assemblies. This research aims to discover the revitalization process of its Buddhist teaching including its result, and the methods that is used to motivate the Buddhist assemblies to participate in its various programmes. The study found that the revitalization of Buddhist teaching process at Sathira Dhammasathan is relevant to the revitalization process of Wallace, F.C.A. (1970), especially the methods of communication which can influence the Buddhist assemblies to attend its programmes. Its way of communication such as the nuns' preaching style enables the buddhist assemblies to understand it easily and adapt it to their daily lives. The Buddhist teaching here also brings about morality, good mentality, and peace to Thai society.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2120-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพุทธศาสนา -- ไทยen_US
dc.subjectพุทธศาสนา -- คำสั่งสอนen_US
dc.subjectการปฏิบัติธรรมen_US
dc.subjectBuddhism -- Thailanden_US
dc.subjectBuddhism -- Doctrinesen_US
dc.titleกระบวนการเสริมพลังคำสอนพระพุทธศาสนาในสังคมไทย : ศึกษากรณีการสอนพระพุทธศาสนา ณ เสถียรธรรมสถาน กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeThe Revitalization Process of A Buddhist-Teaching in Thailand : A Case Study of the Buddhist-Teaching at Sathira-Dhammasathan, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuparvadee.M@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2120-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suchada_pa.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.