Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorเจริญเนตร แสงดวงแข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialสงขลา-
dc.date.accessioned2017-02-16T07:12:37Z-
dc.date.available2017-02-16T07:12:37Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51898-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวัตถุประสงค์3 ประการ คือ (1) เพื่อเข้าใจการบริหารงานของวิทยุชุมชนในจังหวัดสงขลาทั้ง 2 แห่ง (2) เพื่อทราบถึงระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ในกระบวนการดำเนินงานวิทยุชุมชน (3) เพื่อทราบถึงบทบาท และประโยชน์ของวิทยุชุมชนทั้ง 2 แห่ง โดยใช้วิธีการวิจัย คือ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การวิเคราะห์เอกสาร และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า วิทยุชุมชนความเนียง ตำบลบางเหรียง มีการบริหารงานทามาจากคนในชุมชน มีโครงสร้างการบริหารงานที่นำเอาแนวคิดวิทยุชุมชนมาใช้อย่างเคร่งครัด เนื่องจากกลุ่มผู้บริหารและอาสาสมัครมีความเข้าใจเรื่องวิทยุชุมชนเป็นอย่างดีจากการผ่านการจัดทำเวทีประชาคมรวม 6 ครั้ง มีการเปิดโอกาสให้คนสนชุมชนมีส่วนร่วมครบทั้ง 3 ระดับ คือ การมีส่วนร่วมในฐานะผู้รับสาร/ผู้ใช้สาร การมีส่วนร่วมในฐานะผู้ส่ง/ผู้ผลิต/ผู้ร่วมผลิต และการมีส่วนร่วมในฐานะผู้วางแผนและกำหนดนโยบาย วิทยุชุมชนความเนียงได้ทำบทบาทน้าที่บรรลุดังวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ โดยบทบาทหน้าที่ที่ทำมากทีสุด คือ เผยแพร่ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ส่วนประโยชน์ของวิทยุชุมชนควนเนียง ประโยชน์ที่เห็นเด่นชัด คือ การประชาสัมพันธ์ข่าวสารในชุมชน กรณีของวิทยุชุมชนชวาทอง ตำบลบ้านนา พบว่า มีการบริหารงานที่มาจากคนในครอบครัว มีโครงสร้างการบริหารงานที่ยังไม่ได้นำเอาแนวคิดวิทยุชุมชนมาใช้อย่างเต็มรูปแบบเนื่องจากมีผู้บริหารยังมีความรู้เรื่องวิทยุชุมชนที่ไม่ชัดเจนนัก การเปิดโอกาสให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมมีเพียง 2 ระดับ คือ การมีส่วนร่วมในฐานะผู้รับสาร/ผู้ใช้สาร และการมีส่วนร่วมในฐานะผู้ส่ง/ผู้ผลิต/ผู้ร่วมผลิต วิทยุชุมชนชวาทองได้ทำบทบาทหน้าที่บรรลุดังวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ โดยบทบาทหน้าที่ที่ทำมากที่สุด คือ เป็นการเลือกในการรับฟังสื่อวิทยุของคนในชุมชนส่วนประโยชน์ของวิทยุชุมชนชวาทอง ประโยชน์ที่เห็นเด่นชัด คือ การให้ความบันเทิงen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this qualitative research are; to analyse the management of Kuanneang community radio tambon Bangreang and Chawathong community radio tambon Banna in Songkhla province, to study the level of community participation in both community radios’ working process, and to study the function and the use of both community radios. The research is carried out through the method of in- interview, document research and participation observation. The findings of Kuanneang community radio tambon Bangreang’s study show that this community radio is managed by people who live in the community. The management structure is used completely according to community radio idea, because executive officers and volunteers understand the idea of community radio clearly through attending six civic forums. The opportunities to participate are given to people in 3 levels which are participator as receiver2user, participator as sender/producer’co-producer and participator as planner/policy setter. This community radio can achieve all of its goals, and the function it mostly performs is the distribution of useful news and information. Kuanneang community radio’s notable use is public information within its community. In case of Chawathong community radio tambon Banna, the result showed that this radio station is managed by only one local family. The management structure is not used completely according to the community radio idea yet, due to the unclear understanding of executive officers about community radio. The form of people participation are limited only in 2 levels which are participator as receiver/user and participator as sender/producer’co-producer. This community radio can achieve all of its goals, and the role it mostly performs is being one of radio stations for people’s choice. Chawathong community radio’s notable use is being entertainer.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.626-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิทยุชุมชน -- ไทย -- สงขลาen_US
dc.subjectวิทยุชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.subjectCommunity radio -- Thailand -- Songkhlaen_US
dc.subjectCommunity radio -- Citizen participationen_US
dc.titleการบริหารงานวิทยุชุมชนควนเนียง ตำบลบางเหรียง และวิทยุชุมชนชวาทอง ตำบลบ้านนา จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeManagement of Kuanneang community radio Tambon Bangreang and Chawathong community radio Tambon Banna, Songkhla provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.626-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jarernnate_sa_front.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_ch1.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_ch2.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_ch3.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_ch4.pdf10.56 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_ch5.pdf5.99 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_ch6.pdf5.48 MBAdobe PDFView/Open
jarernnate_sa_back.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.