Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52926
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ-
dc.contributor.authorสุธารา คิสาสัง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-05-31T10:01:55Z-
dc.date.available2017-05-31T10:01:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52926-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractปัจจุบันมีการนำสิ่งแสดงตัวบุคคล (IDENTITY) ของผู้อื่นไปแสวงหาประโยชน์โดยทุจริต อย่างแพร่หลาย เนื่องจากการทำธุรกรรมต่างๆต้องการความสะดวกรวดเร็ว จึงกำหนดให้ผู้ทำ ธุรกรรมเพียงแต่แสดงสิ่งแสดงตัวบุคคลเพื่อยืนยันตัวบุคคลต่อผู้ที่ตนต้องการติดต่อด้วย การ แสวงหาประโยชน์จากสิ่งแสดงตัวบุคคลโดยทุจริตทำได้หลากหลายรูปแบบ เช่น นำบัตรประชาชน ผู้อื่นไปเปิดบัญชีธนาคารเพื่อใช้บริการบัตร นำกรมธรรม์ประกันสุขภาพของผู้อื่นไปใช้บริการทาง การแพทย์ เป็นต้น การกระทำดังกล่าวเป็นการนำข้อมูลแสดงตัวบุคคลของผู้อื่นไปอ้างต่อบุคคลที่ สามว่าตนคือบุคคลที่เป็นเจ้าของสิ่งแสดงตัวบุคคลหรือได้รับมอบอำนาจ โดยที่เจ้าของที่แท้จริง ไม่ได้รู้เห็นหรือยินยอมด้วย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะแสวงหาประโยชน์โดยทุจริต การกระทำที่ กล่าวมาข้างต้นสร้างความเสียหายแก่เจ้าของสิ่งแสดงตัวบุคคลและผู้อื่น กฎหมายอาญาของไทยไม่มีบทบัญญัติที่สามารถครอบคลุมความผิดหลักกับการกระทำ ความผิดอาญาที่เกี่ยวกับการแสวงหาประโยชน์จากแสดงตัวบุคคลของผู้อื่น เมื่อเกิดการกระทำ ดังกล่าวขึ้น จึงจำต้องนำบทบัญญัติในประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์และกฎหมายอื่นๆที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการแสวงหา ประโยชน์ดังกล่าวมาบังคับ จากการศึกษาพบว่ากฎหมายที่มีอยู่ไม่มีความครอบคลุม เหมาะสม เพียงพอที่จะนำมาบังคับใช้กับการแสวงหาประโยชน์ได้ในทุกรูปแบบ ผู้วิจัยยังพบว่าในประเทศที่ ต้องการความสะดวกและความน่าเชื่อถือของสิ่งระบุตัวบุคคล ได้บัญญัติกฎหมายในรูปแบบที่ สามารถใช้ครอบคลุมพฤติกรรมที่เป็นการประทุษร้ายต่อสิ่งแสดงตัวบุคคลไว้อย่างรัดกุม ด้วยเหตุ นี้ประเทศไทยควรมีบทบัญญัติเฉพาะแก่การกระทำความผิดอาญาเกี่ยวกับการแสวงหาประโยชน์ จากสิ่งแสดงตัวบุคคลของผู้อื่นโดยทุจริตที่ครอบคลุมการกระทำความผิดดังกล่าวและควรกำหนด สิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนความเสียหายแก่เจ้าของสิ่งแสดงตัวบุคคล ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนวทาง ในการบัญญัติกฎหมายและมาตรการทางกฎหมายไว้ในประมวลกฎหมายอาญา เพื่อให้การบังคับ ใช้กฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้มีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeTrue is the fact that nowadays a person’s identity has been widely exploited to gain some illegal advantages. To conveniently and speedily facilitate transactions, law generally allows a person to enter into the transaction merely by presenting his or her self-identity to the other party of the transaction. The identity could be variedly unlawfully used; for instance, it can be used to run the process of opening a bank account, or to apply for a health insurance policy on which other persons can claim for medical service benefits, to name but a few. The fact that an offender commits the theft identity crime by claiming the victim’s identity with the third party, and definitely without the victim’s consent is not beyond the bounds of possibility of damage to the victim himself, his ownership and even others. In Thailand, there has been no particular provision of criminal law against offences relating to identity theft. Only a few provisions of the current Penal Code, the Civil Code and some other laws are within the possibility of application to the offences. The study shows that the existing laws practically do not cover a myriad variety of actions pertaining to identity theft. Moreover, being presumably aware of both flexibility and credibility of a person’s identity, some certain countries, as found out, have broadly and cautiously introduced the law against those illegal actions. Accordingly, Thailand should initiate an enactment of specific criminal provisions to combat crime against identity theft. Not only should such enactment cover the whole range of offences, but also establish an appropriate measure and civil liability for tort claimed by the victim. In this regard, the provision of identity theft should be enshrined in the existing Penal Code, which ultimately renders law enforcement in relation to this crime more effective, and last but most importantly, suppresses crime against identity theft.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2198-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบัตรประชาชนen_US
dc.subjectประกันชีวิต -- กรมธรรม์en_US
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบen_US
dc.subjectความผิดทางอาญาen_US
dc.subjectความรับผิดในการกระทำของบุคคลอื่นen_US
dc.subjectIdentification cardsen_US
dc.subjectLife insurance policiesen_US
dc.subjectMistake (Criminal law)en_US
dc.subjectRespondeat superioren_US
dc.titleการแสวงหาประโยชน์จากสิ่งแสดงตัวบุคคลของผู้อื่นโดยทุจริตen_US
dc.title.alternativeMisappropriation of identityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.2198-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sutara_kh_front.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_ch1.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_ch2.pdf4.49 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_ch3.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_ch4.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_ch5.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_ch6.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
sutara_kh_back.pdf5.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.