Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรทัย ชวาลภาฤทธิ์-
dc.contributor.authorอัญชลี ศรีรังสรรค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-24T06:44:03Z-
dc.date.available2017-06-24T06:44:03Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53112-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียไบโอดีเซลโดยกระบวนการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้า ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 เป็นการออกแบบการทดลองแบบใช้ตัวแปรเดี่ยวในการทดลองแต่ละครั้ง โดยทำการปรับเปลี่ยนตัวแปรในการทดลองทั้งหมด 4 ตัวแปร คือ ชนิดของขั้วไฟฟ้า โดยใช้ขั้วแอโนดและแคโทดเป็นแบบเหล็ก-เหล็ก (Fe-Fe) เหล็ก-แกรไฟต์ (Fe-C) แกรไฟต์-แกรไฟต์ (C-C) อลูมิเนียม-แกรไฟต์ (Al-C) และอลูมิเนียม-อลูมิเนียม (Al-Al) ค่าพีเอชเริ่มต้นของน้ำเสียตั้งแต่ 4 ถึง 9 ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าตั้งแต่ 10 ถึง 30 โวลต์ ระยะเวลาทำปฏิกิริยา ตั้งแต่ 10 ถึง 40 นาที สภาวะที่เหมาะสมในบำบัดน้ำเสียไบโอดีเซล คือ ใช้ขั้วไฟฟ้าแบบอลูมิเนียม-แกรไฟต์ พีเอชเริ่มต้นของน้ำเสียเท่ากับ 6 ใช้ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 20 โวลต์ ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยานาน 25 นาที พบว่า ประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี ของแข็งแขวนลอย และน้ำมันและไขมันเท่ากับร้อยละ 55.43 96.88 และ 97.76 ตามลำดับ น้ำหนักขั้วที่สลายไปเท่ากับ 0.1475 กรัม สามารถผลิตก๊าซจากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้เท่ากับ 390 มิลลิลิตร ใช้ค่าพลังงานเท่ากับ 6.92 กิโลวัตต์ต่อลูกบาศก์เมตร เสียค่าไฟฟ้าในการบำบัดเท่ากับ 13.36 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ขั้นตอนที่ 2 เป็นการออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคน โดยทำการปรับเปลี่ยนตัวแปรในการทดลองทั้งหมด 3 ตัวแปร คือ ค่าพีเอชเริ่มต้นของน้ำเสีย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ระยะเวลาทำปฏิกิริยา โดยใช้ขั้วไฟฟ้าแบบอลูมิเนียม-แกรไฟต์ จากการทดลองพบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียไบโอดีเซล มีค่าใกล้เคียงกับผลการทดลองในขั้นตอนที่ 1 และมีประสิทธิภาพการกำจัดรวมทั้งค่าใช้จ่ายใกล้เคียงกันด้วย ซึ่งเป็นการยืนยันว่าผลการทดลองของทั้ง 2 วิธี สามารถเชื่อถือได้ ซึ่งในการนำไปใช้งาน ต้องเลือกสภาวะที่มีความเหมาะสมกับเครื่องมือ และเทคโนโลยีที่ใช้ สามารถควบคุมง่าย เกิดความคุ้มทุนสูงสุดen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study optimum the suitable condition for biodiesel wastewater treatment by electrocoagulation process. The experiment was divided into two steps. The first step : Different operational conditions were examined using one variable at a time method. Type of electrode for anode and cathode such as : Fe-Fe / Fe-C / C-C / Al-C and Al-Al were used in this study. The initial pH from 4-9, voltage from 10 to 30 volts and retention time from 10 to 40 minutes were tested. The results showed that the optimum condition for treatment of biodiesel wastewater was using Al-C electrode as anode and cathode, initial pH of 6, voltage of 20 V and retention time of 25 minutes. 55.43% COD remove, 96.88% SS remove and 97.76% grease and oil remove under this condition. Furthermore 0.1475 grams of electrode lost after the experiment and 390 ml of gases occurred from the chemical reaction. Moreover, the energy consumption and the electric cost for the treatment are 6.92 kW/m3 and 13.36 baht respectively. The second part : Box-Behnken. The parameters are initial pH of wastewater, voltage and retention time by using Al-C electrode. The experiment showed that the suitable condition is similar to the 1st part experiment including the removal efficiency and the electric cost. It’s can confirm that the result of both experiment are reliable. However, the treating condition for the treatment plant should proper to the equipment and technology for the easier operation and the most benefit.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1363-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การจับกลุ่มตะกอนen_US
dc.subjectการกำจัดน้ำเสียen_US
dc.subjectการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้าen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงไบโอดีเซล -- การกำจัดของเสียen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Flocculationen_US
dc.subjectSewage disposalen_US
dc.subjectElectrocoagulationen_US
dc.subjectBiodiesel fuels industry -- Waste disposalen_US
dc.titleการบำบัดน้ำเสียไบโอดีเซลโดยกระบวนการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeTreatment of biodiesel wastewater by electrocoagulation processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisororathai.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1363-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anchalee_sr_front.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
anchalee_sr_ch1.pdf362.55 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_sr_ch2.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open
anchalee_sr_ch3.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
anchalee_sr_ch4.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open
anchalee_sr_ch5.pdf376.59 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_sr_back.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.