Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53259
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorไรวินรมน์ กิติรัตน์ตระการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอินโดนีเซีย-
dc.date.accessioned2017-09-08T09:51:08Z-
dc.date.available2017-09-08T09:51:08Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53259-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยชิ้นนี้ทำการประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตตามแนวหมู่เกาะ ประเทศอินโดนีเซีย โดยวิธีทางสถิติที่เรียกว่าขั้นตอนบริเวณ-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน ซึ่งวิธีนีมี้ความน่าเชื่อถือและใช้กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศเพื่อประเมินหาภาวะเงียบสงบ แผ่นดินไหวก่อนเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ โดยในการประเมินใช้ข้อมูลแผ่นดินไหวจาก 3 ฐานข้อมูลคือ National Earthquake Information Center (NEIC), International Seismological Center (ISC) และ Global Centroid Moment Tensor (GCMT) ได้ข้อมูลในช่วงปี ค.ศ.1963 - 2015 หลังจาก ปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหวแล้วได้ข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 4,982 เหตุการณ์และมีขนาด แผ่นดินไหวโมเมนต์ตัง้แต่ 5.0 – 9.0 ริกเตอร์ พืน้ ที่ศึกษาครอบคลุมตั้งแต่ละติจูดที่ -15.10 ถึง 1.61 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 96.09 ถึง 135.47 องศาตะวันออก โดยทำการคัดเลือกเหตุการณ์ แผ่นดินไหวที่สำคัญมีขนาด 7.0 ริกเตอร์ขึน้ ไป เพื่อหาเงื่อนไขเฉพาะที่เหมาะสมต่อพืน้ ที่ศึกษาใน เชิงเวลาและพืน้ ที่นั้นก็คือ RMAX =130 กิโลเมตร และ TMAX = 2.5 ปี ซึ่งเหมาะสมต่อการประเมิน ภาวะเงียบสงบแผ่นดินไหวในพื้นที่ศึกษาสามารถประเมินได้ 34 เหตุการณ์ จากทัง้ หมด 41 เหตุการณ์พบว่าบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ตามแนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซียมี 3 บริเวณคือ เมืองจาการ์ตา (Jakarta) เมืองยอร์กจาการ์ตา (Yogyakarta) และเมืองบาจาวา (Bajawa)en_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, the prospective areas of the upcoming large earthquake were evaluated along the Indonesian Islandsr. Using a statistical method called the Region- Time-Length algorithm (RTL), this method is reliable and widely used in many countries to assess conditions for seismic quiescence of earthquake before the earthquake. In evaluating the seismic data from three databases are National Earthquake Information Center (NEIC), International Seismological Center (ISC) and Global Centroid Moment Tensor (GCMT). Information during 1963 - 2015 to update the database after earthquake catalogue improvement of 4,982 events, moment magnitude from 5.0 to 9.0 Richter, areas covered range from -15.10 to 1.61 degrees northern latitude and longitude from 96.09 to 135.47 degrees eastern. Selection earthquake from 7.0 magnitude or higher for appropriate to the specific conditions in space window and time window of the study area, that are RMAX = 130 km. and TMAX = 2.5 years. According to the suitable characteristic parameters and the present seismicity data that three areas risk of major earthquakes along the Indonesian Islands are Jakarta, Yogyakarta and Bajawa.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- อินโดนีเซียen_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Indonesiaen_US
dc.titleขั้นตอนวิธีบริเวณ-เวลา-ความยาวรอยเลื่อนตามแนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซียen_US
dc.title.alternativeRegion-time-length algorithm along the Indonesian islandsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPailoplee.S@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532720323.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.