Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53260
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ | - |
dc.contributor.author | นวภัทร กลมเกลียว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | เพชรบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-08T10:08:46Z | - |
dc.date.available | 2017-09-08T10:08:46Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53260 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 | en_US |
dc.description.abstract | พื้นที่ศึกษาจัดอยู่ในกลุ่มหินสระบุรี บริเวณภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย ที่มีลักษณะของธรณีวิทยาโครงสร้างชั้นหินอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และมีแนวเอียงเทไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นแนวหลัก โครงสร้างธรณีวิทยาเป็นผลมาจากการเกิดธรณีแปรสัณฐานของสองช่วงเวลา คือ การชนกันของแผ่นเปลือกไซบูมาสุไทยและแผ่นเปลือกโลกอินโดจีนในยุคไทรแอสซิก-จูแรสสิกในช่วงแรก และการชนกันของแผ่นเปลือกโลกอินเดียและแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียในช่วงอีโอซีน โดยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตีความธรณีวิทยาโครงสร้างและวิวัฒนาการของระบบรอยแตกภายในเหมืองหินปูน จากการวิเคราะห์ข้อมูลภาคสนามและโครงสร้างธรณีจุลภาคพบว่าสามารถแบ่งระบบรอยแตกออกเป็น 3 ระบบ คือ รอยแตกตั้งฉากกับชั้นหินวางตัวแนวตะวันออก-ตะวันตก รอยแตกขนานรอยเลื่อนปกติวางตัวแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้และแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และรอยแตกที่สัมพันธ์กับรอยเลื่อนปกติมีแนวการวางตัวหลักแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ โดยลาดับการเกิดของรอยแตกเริ่มจากรอยแตกตั้งฉากกับชั้นหินที่เกิดจากอิทธิพลของการชนกันของแผ่นเปลือกโลกอินจีนและแผ่นเปลือกโลกฉานไทย รอยแตกอันดับที่สองคือรอยแตกขนานรอยเลื่อนปกติและอันดับสุดท้ายคือรอยแตกสัมพันธ์กับรอยเลื่อนปกติที่เกิดจากอิทธิพลของการชนกันของแผ่นเปลือกโลกอินเดียและแผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย มีการวางตัวที่สัมพันธ์กับรอยเลื่อนปกติ จากลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้างของรอยแตกและวิวัฒนาการของรอยแตกบริเวณ เหมืองหินปูน บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จากัด อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีคาดว่ามีความสัมพันธ์กับธรณีแปรสัณฐาน 2 ช่วงเวลาคือ ช่วงก่อเทือกเขาอินโดไชเนียน และช่วงก่อเทือกเขาหิมาลัย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The study area is a part of Ratburi Group settle on North Peninsular Thailand, which has structural trend approximately NNW-SSE and dip direction about SSW. This structure caused by the collision of Sibumasu and Indochina terrane in Triassic-Jurassic and the collision of India and Eurasia plate in Eocene. The aim of this study is to interpret structural style and evolution of fracture system at industrial mine. Based on the evidence from field observation, microstructure and fracture systems can separate in to 3 systems: (1) Bed-perpendicular fracture has E-W trending, (2) Normal fault-parallel fracture has both NNW-SSE trending and NNE-SSW trending and (3) Normal fault-related fracture has NNE-SSW trending. The first generation fracture is Bed-perpendicular fracture, which is influenced by the Shan-Thai and Indochina collision. The second generation fracture is normal fault-parallel fracture and the last is normal fault-related fracture, which is influenced by India and Eurasia collision. Structural style and evolution of fracture system in industrial mine at Jalaprathan Cement Ltd., Amphoe Cha Am, Changwat Phetchaburi relate to 2 stages of tectonic consist of Indochina orogeny and Himalayan orogeny, respectively. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ธรณีสัณฐาน -- ไทย -- เพชรบุรี | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- เพชรบุรี | en_US |
dc.subject | Landforms -- Thailand -- Phetchaburi | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- Thailand -- Phetchaburi | en_US |
dc.title | ระบบรอยแตกบริเวณเขาถ้าโห่ว จังหวัดเพชรบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Fracture system of Khao Thum Wo, Changwat Phetchaburi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | pitsanupong.k@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5532723223.pdf | 8.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.