Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสกลวรรณ ชาวไชย-
dc.contributor.authorวริษา ไผ่สนจำลองศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอุทัยธานี-
dc.date.accessioned2017-09-12T07:34:17Z-
dc.date.available2017-09-12T07:34:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53273-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractปัจจุบันงานวิจัยที่ใช้ธาตุร่องรอยในหินงอก เพื่อศึกษาสภาพสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ บรรพกาลจากถ้ำในหลากหลายประเทศได้รับการยอมรับและกำลังเป็นที่นิยม โครงงานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุร่องรอยร่วมกับลักษณะทางศิลาวิทยาและความหนาแน่นของหินงอก จากถ้ำบริเวณอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี โดยลำดับแรกได้นำตัวอย่างหินงอกไปวิเคราะห์ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ผลที่ได้ คือค่าซีทีและภาพที่แสดงระดับสีเทา ซึ่งข้อมูลทั้งสองบ่งบอกถึงความหนาแน่นของหินงอก จากนั้นนำผลที่ได้มาเปรียบเทียบกับลักษณะศิลาวรรณาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ลำดับสุดท้ายจึงพิจารณาจุดที่มีลักษณะศิลาวรรณาและความหนาแน่นแตกต่างกันมาวิเคราะห์ปริมาณธาตุร่องรอยโดยใช้เครื่อง Electron probe- micro-analyzer (EPMA) ทั้งนี้เพื่อหาความสัมพันธ์ของธาตุร่องรอย ลักษณะศิลาวิทยาและความหนาแน่นของหินงอก ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการคัดเลือกหินงอกเพื่อทำการศึกษาต่อในเชิงสภาพภูมิอากาสบรรพกาลได้ ผลการศึกษาหินงอก 3 ทั้งตัวอย่าง จากถ้ำบริเวณอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานีนี้ แสดงให้เห็นว่าลักษณะศิลาวรรณามีความสัมพันธ์กับความหนาแน่น โดยโครงเนื้อแบบ Columnar มีความหนาแน่นมากที่สุด รองลงมาคือโครงเนื้อแบบ Dendritic ที่มีช่องว่างระหว่างผลึกแคบ และโครงเนื้อแบบ Dendritic ที่มี รูพรุนแทรกภายหลังหินงอกตกสะสมตัว มีความหนาแน่นต่ำที่สุด นอกจากนี้ ผลจากการศึกษาธาตุร่องรอยทั้ง 36 จุด พบว่าธาตุที่พบเกือบทุกจุดศึกษา คือ Mg ( 413 ppm) และธาตุอื่นๆ ได้แก่ Pb Fe Na Zn Mn Si และ Sr พบรองลงมา โดยมีปริมาณมากน้อยต่างกันไปตามแต่ละจุดศึกษา (> 50 ppm) จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความหนาแน่นและปริมาณธาตุร่องรอยที่ปรากฎในเชิงสถิติเบื้องต้น พบว่า ทั้งสองค่านี้มีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ (-0.45 < r < 0.33) และอาจมีความสัมพันธ์ระดับปานกลางในทางตรงข้าม ยกตัวอย่างเช่น Pb (r = -0.45) เป็นต้นen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, studying of trace elements in stalagmite is able to indicate paleoclimate, or paleoenvironment. This study detects trace element content combining with bulk density of stalagmite, collected from amphoe Ban Rai, changwat Uthai Thani. Firstly, samples were scanned by CT scanner giving CT number data and grey scale images which corresponds to relative X-ray attenuation, the function of elemental composition and density (Mickler et al., 2004). Then, the results from Ct scanning would be compared with petrography under the polarized microscope. The selected interest spots, identified by the comparison of density and petrography, for the next step of EPMA analysis which aims to test the relationship of trace element content, petrography and bulk density of stalagmite. Since, the relationship may use as a basic knowledge in stalagmites sampling for further paleoclimate studies. The study results from 3 samples of stalagmite show the relation between petrography and density. Columnar fabric has the highest density. Dendritic compact is the second and dendritic open with post depositional dissolution has the lowest density. Moreover, EPMA almost detect Mg ( 413 ppm) in every analysis spots and other trace elements, including Pb, Fe, Na, Zn, Si, Sr and Mn are found in some spot. However, the amount of trace element depends on the analysis spots (< 50 ppm). Because the correlation coefficient (r) between trace element content and density value is low (-0.45 < r < 0.33). Consequently, these two values could be concluded to be the inconsistence or moderate negative relationship like Pb (r = -0.45).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อย -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectศิลาวิทยา -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectStalactites and stalagmites -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.subjectPetrology -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.titleศิลาวิทยาและธาตุร่องรอยของหินงอกจาก อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานีen_US
dc.title.alternativePetrology and trace element of stalagmites from Amphoe Ban Rai, Changwat Uthai Thanien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsakonvan.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532735823.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.