Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์-
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.authorวัชรพล สียางนอก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialสระแก้ว-
dc.date.accessioned2017-09-12T08:30:30Z-
dc.date.available2017-09-12T08:30:30Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53274-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาในระดับมัชฌิมภาคและระดับจุลภาค ของหินโผล่ที่เป็นหินแปรในบริเวณปั๊มน้ามันบางจาก ริมถนนทางหลวง 317 บ้านวังสมบูรณ์ อำเภอวัง สมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว ซึ่งหินโผล่บริเวณจุดศึกษาเป็นส่วนหนึ่งในหน่วยหินเขาแหลม (Chutakositkanon, 2004 และ Chutakositkanon and Hisada, 2008) ในหน่วยหินซับซ้อนพอกพูน สระแก้ว-จันทบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและสร้างภาพวาดเชิงมโนทัศน์ของวิวัฒนาการการเกิด ธรณีโครงสร้างในพื้นที่ศึกษา จากการศึกษาธรณีโครงสร้างระดับมัชฌิมภาค หินโผล่ในบริเวณปั๊มน้ามันบางจาก พบริ้วขนาน วางตัวในแนว NW-SE และมีสายแร่ควอตซ์สองชุด ชุดแรกวางตัวขนานไปกับแนวริ้วขนาน มีตัวบ่งชี้ทิศ ทางการเฉือนแสดงการเลื่อนตัวแบบขวาเข้า ชุดที่สอง (อายุน้อยกว่า) วางตัวตัดกับแนวริ้วขนาน และไม่ พบหลักฐานการเปลี่ยนลักษณะโดยการเฉือน รอยแตกที่พบในหินโผล่ปรากฏในแนว ENE-WSW และ แนว NE-SW ซึ่งมีการตัดผ่านสายแร่ควอตซ์ทั้งสองชุด บางแนวรอยแตกแสดงการเลื่อนตัวแบบซ้ายเข้า แต่ส่วนใหญ่ไม่พบการเลื่อนตัว สำหรับการศึกษาธรณีโครงสร้างระดับจุลภาค พบลักษณะเม็ดแร่ควอตซ์ในริ้วขนานมีการเปลี่ยน ลักษณะโดยแรงเฉือนบริสุทธิ์ ส่วนแร่ควอตซ์ที่อยู่ในสายแร่ควอตซ์ชุดที่สองไม่พบลักษณะการเปลี่ยน ลักษณะ และจากการศึกษาทางศิลาวรรณนาและการวิเคราะห์ทางธรณีเคมี พบแร่ประกอบหินส่วนใหญ่ ได้แก่ ควอตซ์ มัสโคไวท์และอิลไลต์ ข้อมูลใหม่ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถวิเคราะห์และสรุปผลได้ว่า หินแปรในพื้นที่ศึกษา อยู่ในที่ลึกและแสดงสภาพแบบยืดหยุ่น เมื่อมีแรงบีบอัดในแนว NE-SW ที่เป็นแรงเฉือนแบบทั่วไปที่มี แรงเฉือนแบบบริสุทธิ์เด่นทาให้หินดั้งเดิม (อายุเพอร์เมียน) และแร่ควอตซ์ชุดที่หนึ่งเกิดการเปลี่ยน ลักษณะแสดงตัวบ่งชี้ทิศทางการเฉือนแบบขวาเข้าและแปรสภาพในระดับพรีไนท์-พัมเพลลิไอต์ตอนบนถึง กรีนชีสต์ตอนล่าง ต่อมามีการแทรกตัดขึ้นมาของสายแร่ควอตซ์ชุดที่สอง โดยตัดผ่านริ้วขนานและสายแร่ ควอตซ์ชุดที่หนึ่งหลังจากการบีบอัดแบบเฉือนสิ้นสุดแล้ว ซึ่งคาดว่าสัมพันธ์กับการเลื่อนตัวแบบย้อนมุมต่ำของหน่วยหินเขาแหลมขึ้นมาในช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนลักษณะของหน่วยหินซับซ้อนพอกพูน สระแก้ว-จันทบุรีในช่วงยุคเพอร์โมไทรแอสสิกถึงยุคไทรแอสสิกตอนต้น และในท้ายที่สุด เมื่อหินในพื้นที่ ศึกษาเกิดการยกตัวขึ้นมาอยู่ในระดับแตกหัก การเลื่อนตัวในแนวระดับแบบขวาเข้าในแนว N-S ทาให้ เกิดรอยแตกแบบไรเดียลเชียร์และบางรอยแตกเกิดการเคลื่อนแบบซ้ายเข้าen_US
dc.description.abstractalternativeThis senior project is to study geological structures in meso and microscopic scale of metamorphic rocks which are located at Bangchak Gas Station on the Highway 317 Amphoe Wang Sombun, Changwat Sa Kaeo. Outcrops in the study area are blocks in Khao Lheam Unit which is a part of Sa Kaeo-Chantaburi Accretionary Complex (Chutakositkanon, 2004; Chutakositkanon and Hisada, 2008). The purposes of this study are to understand and construct the conceptual model of structural evolution of metamorphic rocks in the study area. From the mesoscopic scale, four geological structures are shown in outcrops. To illustrate, NW-SE foliations, Quartz I which is parallel with foliations shows dextral shear senses, Quartz II which cut through foliations lacks in shear senses. At last, ENE-WSW and NE-SW fractures cut through foliations, Quartz I and II. Some fractures show the sinistral movements while mostly do not show senses of movement. From the microscopic scale, longitudinal axes of quartz in foliations are parallel with main foliations but these evidences are not shown in Quartz II. The result of rockforming mineral classification in petrography and analytical geochemistry are quartz, muscovite and illite. The new data from this study can be interpreted as following. Stage I, this metamorphic rock block in ductile stage (deeper) and was deformed by the NE-SW compressional stress and showed as NW-SE foliation and dextral shear sense in Quartz I. This deformation is in Upper Prehnite-Pumpellyite to Lower Greenschist. Stage II, this block was in brittle stage (shallower), the ENE-WSW compressional stress caused the opening fractures and was filled by quartz II. Finally, Stage III the N-S dextral movement caused the Riedel shear fractures in this block and some fractures show the sinistral movement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหินแปร -- ไทย -- สระแก้วen_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- สระแก้วen_US
dc.subjectMetamorphic rocks -- Thailand -- Sa Kaeoen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailand -- Sa Kaeoen_US
dc.titleโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหินแปรบริเวณบ้านวังสมบูรณ์ อำเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้วen_US
dc.title.alternativeGeological structures of metamorphic rocks at Ban Wang Sombun, Amphoe Wang Sombun, Changwat Sa Kaeoen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorvichaic@yahoo.com-
dc.email.advisorpitsanupong.k@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532736423.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.