Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53281
Title: 3D-basin modeling to identify migration pathway of petroleum in Northern part of Pattani basin, Gulf of Thailand
Other Titles: แบบจำลอง 3 มิติเพื่อระบุเส้นทางการไหลของปิโตรเลียมในพื้นที่ทางตอนเหนือของแอ่งปัตตานี อ่าวไทย
Authors: Alangkarn Tangjaipeam
Advisors: Kruawun Jankeaw
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Pattani basin
Petroleum -- Computer simulation
แอ่งปัตตานี
ปิโตรเลียม -- แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์
Issue Date: 2015
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Petroleum exploration usually follows the geological data and seismic interpretation. A standard method of study cannot confirm the presence of petroleum in the area. Consequently, basin modeling is considered by integrating the geological data, petroleum geochemistry data and geophysics data to help identify petroleum accumulation area. For this research, the study area is located at the northern part of Pattani Basin, Gulf of Thailand. This research will study 2 types of basin modeling; 1D-basin modeling and 3D-basin modeling. The 1D-basin modeling will provide petroleum data based on 1 well data while the 3D-basin modeling takes consideration of the whole area. For the 1D-basin modeling, the essential data for creating a 1D model are stratigraphy, tectonics, heat data and petroleum geochemistry data. The final results are burial history and petroleum history curve. Moreover, the outputs of 1D-basin modeling will be compared with raw data in calibration step by comparing the temperature and vitrinite reflectance (Ro). In case the results do not fit with the raw data, adjustment would be taken. After the results of 1D model are satisfied, 3D-basin model is created. Seismic surface, represents stratigraphic layer, is used to generate a 3D model together with fault interpretation. The final result is 3D model showing migration pathway of petroleum from the expelled area to the accumulation area. The study result of 1D-basin modeling shows the proportion of oil to gas in source rock generation. The source rock in southeastern zone started to generate heavy hydrocarbon (C6+) and light hydrocarbon (C1-5) at 4 Ma. The 3D model shows the migration of petroleum in the area of south-southeastern to north-northwestern.
Other Abstract: การสำรวจหาแหล่งพลังงานปิโตรเลียมจะอาศัยข้อมูลทางธรณีวิทยาและการแปลความข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน แต่การศึกษาปกตินั้นไม่สามารถยืนยันการมีอยู่ของปิโตรเลียมในพื้นที่ก่อนทำการเจาะได้ แบบจำลองแอ่งสะสมตะกอนจึงเป็นอีกวิธีที่ช่วยในการประมวลผลข้อมูลทางธรณีวิทยา ธรณีเคมีปิโตรเลียมและข้อมูลทางธรณีฟิสิกส์เพื่อช่วยในการยืนยันการมีอยู่ของปิโตรเลียมในพื้นที่ศึกษา โดยงานวิจัยนี้จะเป็นการศึกษาเส้นทางการไหลของปิโตรเลียมในพื้นที่ศึกษาทางตอนเหนือของแอ่งปัตตานีในอ่าวไทย งานวิจัยจะแบ่งการศึกษาแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอนออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือการศึกษาแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอน 1 มิติและ 3 มิติ โดยแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอน 1 มิติจะพิจารณาข้อมูลปิโตรเลียมของแต่ละหลุม ในขณะที่แบบจำลอง 3 มิติจะพิจารณาข้อมูลปิโตรเลียมทั้งพื้นที่ศึกษา การศึกษาแบบจำลอง 1 มิตินั้นจะรวบรวมข้อมูลลำดับชั้นหิน ข้อมูลธรณีแปรสัณฐาน ข้อมูลความร้อนและข้อมูลธรณีเคมีปิโตรเลียมของหินต้นกำเนิดในแต่ละหลุมเพื่อนำมาสร้างเป็นประวัติการตกสะสมตัวของตะกอนและประวัติปิโตรเลียม ทั้งนี้ได้ทำการเปรียบเทียบผลการศึกษาที่ได้จากแบบจำลอง 1 มิติกับข้อมูลหลุมและมีการปรับแก้จนค่าอุณหภูมิและค่า Vitrinite Reflectance (Ro) ที่ได้จากการสร้างแบบจำลอง 1 มิตินั้นตรงกับข้อมูลหลุมมากที่สุด สำหรับการศึกษาแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอน 3 มิตินั้นได้มีการรวบรวมข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนร่วมด้วยเพื่อเป็นตัวแทนของลำดับชั้นหิน 3 มิติ และพิจารณารอยเลื่อนในพื้นที่ศึกษายอมให้ไฮโดรคาร์บอนไหลผ่าน ซึ่งผลลัพธ์ของแบบจำลอง 3 มิติ คือเส้นทางการไหลของปิโตรเลียมในพื้นที่ศึกษาจากหินต้นกำเนิดไปสู่พื้นที่กักเก็บปิโตรเลียมในปัจจุบัน ผลการศึกษาแบบจำลอง 1 มิติแสดงให้เห็นว่าในพื้นที่ศึกษา หินต้นกำเนิดมีการแตกตัวให้นํ้ามันมากกว่าก๊าซ โดยหินต้นกำเนิดในพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้เริ่มมีการสร้างปิโตรเลียมหนัก (C6+) ประมาณ 4 ล้านปีก่อนและสร้างปิโตรเลียมเบา (C1-5) 4 ล้านปีก่อน และแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอน 3 มิติแสดงให้เห็นถึงการไหลของไฮโดรคาร์บอนจากพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้-ตะวันออกไปยังพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันตก ในแนวหลักตะวันออกเฉียงใต้-ตะวันตกเฉียงเหนือ
Description: A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2015
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53281
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532745023.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.