Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53301
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันติ ภัยหลบลี้ | - |
dc.contributor.author | พชรปวีณ์ วิกรเมศกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | เกาะสุมาตรา | - |
dc.coverage.spatial | อินโดนีเซีย | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-16T13:37:28Z | - |
dc.date.available | 2017-09-16T13:37:28Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53301 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้ ศึกษาเกี่ยวกับดัชนีธรณีสันฐาน ซึ่งเป็นการศึกษากระบวนการแปรสัณฐานของแผ่นเปลือกโลกจากลักษณะภูมิประเทศ ภูมิสัณฐาน โดยใช้ข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายเชิงดิจิตอลเป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษา ได้ทำการศึกษาบนพื้นที่ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่มีลักษณะการแปรสัณฐานของภูมิประเทศ ภูมิสัณฐาน ที่ชัดเจน โดยงานวิจัยชิ้นนี้ ได้เลือกค่าดัชนีความลาดยาวทางน้ำและดัชนีความไม่สมมาตราของแอ่งรับน้ำมาใช้ในการศึกษา ผลปรากฎว่า ค่าดัชนีความลาดยาวทางน้ำที่สูงผิดปกติแสดงแนวโน้มการเรียงตัวที่มีความสัมพันธ์กับระบบรอยเลื่อนสุมาตรา และค่าดัชนีความไม่สมมาตราของแอ่งรับน้ำแสดงให้เห็นถึง ลักษณะการเอียงตัวที่ไม่สมมาตราของแอ่งรับน้ำทุกแอ่งบนเกาะสุมาตรา และมีความสัมพันธ์กับลักษณะการเลื่อนตัวแบบขวาเข้าของรอยเลื่อนสุมาตราอีกด้วย จากผลการศึกษาที่ได้ แสดงให้เห็นว่า ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิสัณฐานที่ผิดปกติส่วนใหญ่บริเวณ เกิดจากกระบวนการมุดตัวของแผ่นอินเดีย มุดลงไปใต้แผ่นยูเรเซีย ซึ่งเป็นกระบวนการเกิดเกาะสุมาตรานั้นเอง | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this study, tectonic activities in Sumatra Island, Indonesia are invested in detail based mainly on the geomorphologic features. Two geomorphic Index are analyzed carefully consist of 1) Stream length-gradient index (SL) and 2) Transverse Topographic Symmetry Factor (T). Digital Elevation Model (DEM) with resolution 90 meters are used for base data. The obtained results reveal that the SL is high along the steep slope implying the Sumatran fault system. Moreover the obtained T indicates that all of basin in Sumatra Island is not symmetry. Some of them are affected from Subduction process between Indo-Australian plate-Eurasian plate but the other are according to the volcanic activity. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เกาะสุมาตรา (อินโดนีเซีย) | en_US |
dc.subject | ธรณีสัณฐานวิทยา -- อินโดนีเซีย | en_US |
dc.subject | Sumatra Island (Indonesia) | en_US |
dc.subject | Geomorphology -- Indonesia | en_US |
dc.title | ดัชนีธรณีสัณฐานบริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย | en_US |
dc.title.alternative | Morphotectonic index of Sumatra Island, Indonesia | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Pailoplee.S@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
report_Patcharapawee Wikornmetkun.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.