Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53302
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์-
dc.contributor.advisorสราวุธ จันทรประเสริฐ-
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ จำปาสา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialลาว-
dc.date.accessioned2017-09-16T13:53:24Z-
dc.date.available2017-09-16T13:53:24Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53302-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.description.abstractหินปูนคำม่วน เป็นหินคาร์บอเนตที่มีความน่าสนใจในการศึกษาในรายละเอียด เนื่องจากมีความ หลากหลายทางกายภาพและชีวภาพ อีกทั้งยังมีโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่สลับซับซ้อน โดยมีการกระจาย ตัวอย่างกว้างขวางจากประเทศเวียดนาม จนถึงตอนกลางของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว พื้นที่ศึกษาตั้งอยู่ในแขวงคำม่วน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พบการกระจายตัว ของหินตะกอนทะเลและหินคาร์บอเนตที่แสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคาสต์ อายุมหายุคพาลีโอโซอิก ตอนบน ตลอดแนวชั้นหินคดโค้งของพื้นที่ศึกษา โดยการศึกษานี้เป็นการศึกษาลักษณะทางศิลาวรรณนา ของหินคาร์บอเนตและซากดึกดำบรรพ์ ฟิวซูลินิด และฟอแรมขนาดเล็ก เพื่อให้ทราบอายุ และช่วยในการ จัดลำดับชั้นหินตามชีวภาพ จากการศึกษาแผ่นหินบางของหินคาร์บอเนตจำนวน 71 ตัวอย่าง สามารถจำแนกลักษณะเนื้อหิน คาร์บอเนตในพื้นที่ศึกษาได้เป็น มัดสโตน แวคสโตน แพคสโตน เกรนสโตน และโดโลสโตน ที่มีเม็ดตะกอน เป็นเนื้อเม็ดเพลลอยด์ เม็ดไข่ปลา อินทราคลาสต์ของมัดสโตนเนื้อเดียวและเนื้อผสม และซากดึกดำบรรพ์ จำพวก ฟอแรมขนาดเล็ก ฟิวซูลินิด หอยกาบคู่ หอยกาบเดี่ยว แบรคิโอพอด สาหร่าย ฟองน้ำ และไบรโอซัว พบว่าตัวอย่างแสดงการเปลี่ยนลักษณะ การตกผลึกใหม่ของกลุ่มแร่แคลไซต์ และการถูกแทนที่ด้วย โดโลไมต์ จากการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ดัชนี ฟอแรมขนาดเล็กและฟิวซูลินิดที่พบได้แก่ Brevaxina, Schubertella, Howchinia, Endothyra, Eostafella, Mediocris และ Millerella ซึ่งบ่งบอกอายุในช่วง มหายุคพาลีโอโซอิกตอนปลาย ตั้งแต่ยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนต้นจนถึงยุคเพอร์เมียนตอนต้นen_US
dc.description.abstractalternativeKhammouan limestone rolls as an interesting study in detail according to the physical and biological diversity. It also has a complex geological structure, which distributes from Vietnam to middle part of Lao PDR. The study area is located in Khammouan Province, middle of Lao PDR, where the distribution of Upper Paleozoic marine sedimentary rocks and carbonate rocks along the fold belt have been reported. This project aims to study the carbonate petrography and identify foraminifera for age determination and biostratigraphic completion. 71 carbonate samples were classified into 5 types of carbonate rocks: mudstone, wackestone, packstone, grainstone and dolostone. Grains in carbonate rocks contain peloids, ooids, intraclasts of homogeneous and heterogeneous mudstone. Furthermore, bioclastic grains are composed of smaller forams, fusulinids, bivalves, gastropods, brachiopods, algae, sponge and bryozoas. Few samples were deformed, recrystallized, and dolomitized. Based on the occurrence of Brevaxina, Schubertella, Howchinia, Endothyra, Eostafella, Mediocris and Millerella, they indicate Late Paleozoic probably Early Carboniferous to Early Permian.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหินคาร์บอเนต -- ลาวen_US
dc.subjectหินปูน -- ลาวen_US
dc.subjectศิลาวิทยา -- ลาวen_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ลาวen_US
dc.subjectCarbonate rocks -- Laosen_US
dc.subjectLimestone -- Laosen_US
dc.subjectPetrology -- Laosen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Laosen_US
dc.titleการลำดับชั้นหินตามชีวภาพและศิลาวรรณนาของหินคาร์บอเนตบริเวณแขวงคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeBiostratigraphy and carbonate petrography in Khammouan province, Lao PDRen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorthasineec@gmail.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_Patcharaporn Champasa.pdf11.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.