Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐานบ ธิติมากร-
dc.contributor.authorสุธาศิน เจียมจิตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialนครราชสีมา-
dc.date.accessioned2017-09-18T07:50:14Z-
dc.date.available2017-09-18T07:50:14Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53315-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.description.abstractจากรายงานการสำรวจธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณีในอำเภอ วังน้ำเขียว พบว่าในอำเภอ วังน้ำเขียว มีการปรากฏของแร่เอมเมอรี่ ที่กระจายตัวในตำบล ยุบอีปูน และนอกจากนี้ยังพบลักษณะของแร่แมกนีไทต์เกิดอยู่ร่วมกับแร่เอมเมอรี่ ซึ่งเป็นพิ้นที่ที่น่าสนใจในการหาแหล่งแร่เหล็ก จากการลงพื้นที่สำรวจเบื้องต้น พบว่าบริเวณพื้นที่ที่ทำการศึกษา มีลักษณะดินที่ปกคลุมพื้นผิวเป็นดินสีแดงที่เกิดจากการผุพังมาจากหินฮอร์นเบลนไดต์ นอกจากนี้ยังพบสายแร่แมกนีไทต์ขนาดเล็กซึ่งได้มีการทำการเหมืองอยู่ในปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือระบุตำแหน่งของสายแร่แมกนีไทต์ที่คาดว่ายังไม่พบในพื้นที่ศึกษานี้ ซึ่งจากข้อมูลที่ได้จากการออกภาคสนามเบื้องต้น ทำให้ตัดสินใจที่จะทำการสำรวจโดยใช้วิธีการวัดค่าสนามแม่เหล็กแบบเกรเดียนต์ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่สามารถวัดค่าสนามแม่เหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยได้ โดยผลที่ได้จากการสำรวจพบว่า วิธีการสำรวจวัดค่าสนามแม่เหล็กแบบเกรเดียนต์ สามารถบอกตำแหน่งของสายแร่เหล็กที่มีอยู่เดิมได้ถูกต้อง นอกจากนี้ยังพบลักษณะผิดปกติของสนามแม่เหล็กในหลายๆจุดของพื้นที่ทำการสำรวจ ซึ่งลักษณะความผิดปกติของสนามแม่เหล็กมีความคล้ายกับความผิดปกติของสนามแม่เหล็กที่วัดได้จากสายแร่แมกนีไทต์ โดยอาจเป็นสายแร่แมกนีไทต์อันอื่นก็ได้ ซึ่งต้องทำการขุดหรือเจาะลงไปเพื่อทำการพิสูจน์en_US
dc.description.abstractalternativeBy the geological survey report of DMR in Wangnamkheow district, DMR was report that emery mineral was found in Yub-I-Pun Sub-distric. Moreover, DMR was reported that they found magnetite associated with Emery so that Wangnamkheow district is an interesting area to explore for the iron ore. From preliminary survey, the study area is covered by the red soil which is weathered form the Hornblendite. There is a small magnetite dyke in the area which is currently mined. The primary objective of this study is to locate the magnetite dyke which is believed to scattered in other parts of the study area. As a consequence, I was deciding to use Gradient Magnetic method to explore iron ore because this method can proficiently detect a little change in magnetic field. From results of the survey, I found that the gradient method can be used to detect the location of small magnetite dyke correctly. Moreover, I found that there are also the magnetic anomalies in several locations of the surveyed area. These anomalies are likely to be a small magnetite dyke. However all of the anomalies found in the area are need to be proved by drilling or excavation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเหล็ก -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectสนามแม่เหล็ก -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectธรณีวิทยา -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectIron -- Thailand -- Nakhornratchasimaen_US
dc.subjectMagnetic fields -- Thailand -- Nakhornratchasimaen_US
dc.subjectGeology -- Thailand -- Nakhornratchasimaen_US
dc.titleสำรวจแหล่งแร่เหล็กโดยวิธีการวัดค่าสนามแม่เหล็กบริเวณอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมาen_US
dc.title.alternativeMagnetic survey for iron ore At Amphoe Wangnamkheow, Changwat Nakhornratchasimaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorthanop.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_Suthasin Chiamchit.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.