Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53330
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ | - |
dc.contributor.author | คณิศร วงศ์สีแก้ว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | สระบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-19T11:05:11Z | - |
dc.date.available | 2017-09-19T11:05:11Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53330 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 | en_US |
dc.description.abstract | หินโผล่บริเวณทางหลวงหมาย 1 สามแยกพุแค จังหวัดสระบุรี มีความยาว 300 เมตร วางตัวใน แนวตะวันตกเฉียงเหนือ – ตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะทางธรณีวิทยาของหินโผล่ดังกล่าวประกอบไปด้วย หินดินดาน หินเชิร์ต และ หินตะกอนทีถูกแทนทีด้วยซิลิกา ลักษณะที่พบ สีสดสีน้ำ เทาเข้ม สีผุสีน้ำตาลแดง เนื้อ หินมีลักษณะเนื้อ ละเอียด แทรกสลับกับชั้น หินทรายแป้ง อยู่ในมหายุคเพอร์เมียน การสำรวจภาคสนาม และ การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคได้ถูกนำมาศึกษา และ วิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อใช้ในการอธิบาย ลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้างเฉพาะ และ ลักษณะการเปลี่ยนลักษณะของหินโผล่ บริเวณทางหลวงหมาย 1 สามแยกพุแค จังหวัดสระบุรี ซึ่งพบว่าหินในพื้น ทีศึกษามีลักษณะธรณีโครงสร้าง เฉพาะชั้น หินคดโค้งหน้าจั่ว (Chevron fold) ทีเกิดจากการเปลี่ยนลักษณะแบบอ่อนนิ่ม (Ductile deformation) ของชั้น หินทีมีค่าเฉลี่ยในการโค้งงอของหินโดยรวมต่ำ (Low mean ductility) และ มีค่า ความแตกต่างของการโค้งงอของหินสูง(High ductility contrast) โดยมีกระบวนการคดโค้งหลัก คือ การ ไถลตามชั้น หิน (Flexural slip) ซึ่ง สังเกตุได้จากโครงสร้างสายแร่รูปร่าง sigmoid ในเขตรอยเฉือน (Shear zone) หรือ แนวรอยเลื่อน (Fault), การเลื่อนตำแหน่งของสายแร่ตามแนวการวางตัวของชั้นหิน และ ตาม แนวฟันในชั้น หินในแผ่นหินบาง โครงสร้างทีเกิดจากการเปลี่ยนลักษณะแบบแตกเปราะทีพบ (Brittle deformation) คือ โครงสร้างรอยแตกสามแนว ได้แก่ แนวตั้ง ฉากกับแนวการวางตัวของชั้นหิน, แนวขนาน กับแนวระดับของชั้นหิน และ แนวตั้ง ฉากกับแนวระดับของชั้นหิน โดยพัฒนาขึ้น เมื่อชั้น หินคดโค้งเกิดการ เปลี่ยนแปลงจนเกินแนวระดับกั้น การเปลี่ยนสภาพแบบอ่อนนิ่ม (Threshold strength) | en_US |
dc.description.abstractalternative | Outcrop along highway No.1 at Phu Kae Junction Changwat Saraburi is a 300 meters long Road-cut that lies along NNW – SSE trending. This Permian Outcrop consists of shale, chert and silicified sedimentary rock interbedded with thinly bedded mudstone. Field observation and microstructure studied are used together to explain structural characteristic and evolution of progressive deformation of road-cut outcrop along highway No.1 at Phu Kae Junction Changwat Saraburi. The structural characteristic of study area is chevron fold which is the result of ductile deformation of a low mean ductility rock with high ductility contrast. Flexural slip folding is the main mechanism of folding as indicated by sigmoid vein in shear zone or fault zone, veins offset along the bedding and pressure solution seams. Joint, the result of brittle deformation, are also observed. Three joint sets are identified; strike parallel, strike perpendicular and bed parallel sets. The exceeding of threshold strength changes the deformation styles from ductile deformation to brittle deformation. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- สระบุรี | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- Thailand -- Saraburi | en_US |
dc.title | ธรณีวิทยาโครงสร้างตามแนวเส้นทางหลวงหมายเลข 1 บริเวณสามแยกพุแค จังหวัดสระบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Structural geology along highway no.1 at Pu-Kae juncttion, Changwat Saraburi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | pitsanupong.k@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5332702923 คณิศร วงศ์สีแก้ว_มี error.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.